เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) "Database Systems"
แสดงรายการ 1-17 จาก 17
-
การจัดทำระบบฐานข้อมูลและทดลองใช้เครื่องมือมาตรฐาน รายงานต้นทุน (Standard Cost Report) ของสถานพยาบาลในพื้นที่นำร่อง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-03)โครงการนี้ดำเนินการตามข้อเสนอคณะทำงานขับเคลื่อนความเพียงพอและความยั่งยืนของงบประมาณ เป็นการปรับปรุงการจัดทำบัญชีต้นทุนสถานพยาบาล เป็นมาตรการ Prerequisite ระยะสั้นของคณะทำงานขับเคลื่อนความเพียงพอและความยั่งยืนของงบประมาณภ ... -
การทบทวนข้อมูลทางคลินิกของผู้เสียชีวิตจากวัณโรคในฐานข้อมูลการสอบสวนสาเหตุการตายจากการสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้องในปี พ.ศ. 2562
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-05)การทบทวนสาเหตุการตายของประชากรไทยโดยวิธีการสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้อง (verbal autopsy) จำนวน 9,300 ราย คณะผู้ทบทวนรายงานว่า วัณโรคเป็นสาเหตุการตาย ร้อยละ 2.8 ในผู้ชาย และร้อยละ 1.3 ในผู้หญิง อันเป็นสาเหตุการตายลำดับที่ 10 และ ... -
การพัฒนาปัญญาประดิษฐ์ช่วยในการคัดกรองรอยโรคจากภาพถ่ายรังสีทรวงอกเพื่อคัดกรองวัณโรคปอด มะเร็งปอดและรอยโรคอื่นๆ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)ภาพถ่ายดิจิทัลรังสีทรวงอก หรือ Digital chest x-ray image เป็นเครื่องมือวินิจฉัยทางการแพทย์ที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน ช่วยในการวินิจฉัยโรค ได้แก่ วัณโรคปอดและมะเร็งปอด ในการตรวจสุขภาพประจำปีอีกด้วย ในแต่ละปีมีภาพถ่า ... -
การพัฒนาระบบฐานข้อมูลสุขภาพอิเล็กทรอนิกส์แบบบูรณาการสำหรับการป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูงในประชากรไทย โดยใช้ระบบต้นแบบในกำลังพลกองทัพบก
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-07-20)ที่มาและความสำคัญ : โรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นโรคที่จำเป็นต้องได้รับการดูแลรักษาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะในกลุ่มโรคความดันโลหิตสูง ซึ่งการรักษาจำเป็นต้องรับประทานยาอย่างต่อเนื่อง เพื่อที่จะลดภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้นจากตัวโรค ... -
การพัฒนาระบบฐานข้อมูลเชิงบูรณาการเพื่อบริหารจัดการและการจัดทำนโยบายด้านบริการสุขภาพและสถานะสุขภาพแรงงานข้ามชาติ โดยประยุกต์ใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ กรณีศึกษา: สถานการณ์โควิด-19 ในพื้นที่เขตสุขภาพที่ 6
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-09-13)การพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อบริการจัดการด้านบริการสุขภาพและสถานะสุขภาพของแรงงานข้ามชาติในพื้นที่เขตสุขภาพที่ 6 เพื่อนำข้อมูลมาบริหารจัดการด้านบริการสุขภาพและสถานะสุขภาพของแรงงานข้ามชาติ โดยใช้ฐานข้อมูล 43 แฟ้ม จากคลังข้อมู ... -
การพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อรองรับตัวชี้วัดการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-01)โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อรองรับตัวชี้วัดการใช้ยาอย่างสมเหตุผล มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบโครงสร้างฐานข้อมูลเพื่อใช้สำหรับตอบตัวชี้วัดต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยาสมเหตุผลในทุกระดับ มีการดำเนินการ 3 ส่วน ได้แก่ 1) ... -
การพัฒนาระบบระเบียนสุขภาพอิเล็กทรอนิกส์ส่วนบุคคล (Personal Health Record : PHR) เชื่อมต่อโปรแกรมการจัดการข้อมูลวัคซีนโควิด-19 ในพื้นที่เขตสุขภาพที่ 9
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-01)โครงการพัฒนาระบบระเบียนสุขภาพอิเล็กทรอนิกส์ส่วนบุคคล (Personal Health Record: PHR) เชื่อมต่อโปรแกรมการจัดการข้อมูลวัคซีนโควิด-19 ในพื้นที่เขตสุขภาพที่ 9 มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ สังเคราะห์และพัฒนาระบบระเบียนสุขภาพส่ว ... -
การพัฒนาระบบสุขภาพปฐมภูมิบนฐานการคลังที่เป็นธรรมและยั่งยืนสําหรับคนไทยถ้วนหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-07)ปัจจุบันความสำคัญของการขับเคลื่อนนโยบายด้วยข้อมูลในการดูแลสุขภาพ มีความสำคัญเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะกับการปรากฏของข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) ประเทศไทย สามารถใช้ประโยชน์จากช่องทางข้อมูลที่หลากหลาย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการให ... -
การพัฒนารูปแบบนำร่องเพื่อพัฒนาคุณภาพข้อมูลสาเหตุการตาย กรณีการตายนอกสถานพยาบาลใน 12 เขตสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-05)ข้อมูลสาเหตุการตายมีความสำคัญ ซึ่งสะท้อนปัญหาสุขภาพของประชากร โดยข้อมูลสามารถนำมาใช้ประโยชน์ในการประเมินติดตามผลการดำเนินงานของระบบสุขภาพ รวมถึงเป็นข้อมูลสำคัญในการวางแผนพัฒนางานสาธารณสุขระดับชาติ แม้ระบบการรายงานการตายข ... -
การพัฒนาเครื่องมือเพื่อประเมินความเสี่ยงทางคลินิกของผู้ป่วยหนักด้วยกระบวนการเรียนรู้ด้วยเครื่อง โดยใช้ฐานข้อมูลผู้ป่วยหนักเพื่อการวิจัยของโรงพยาบาลสงขลานครินทร์
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)ผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาตัวในหอผู้ป่วยวิฤตมีความเสี่ยงต่อการเสื่อมสภาพทางคลินิก เช่น ภาวะหัวใจล้มเหลว ภาวะหัวใจขาดเลือด โดยส่วนใหญ่แพทย์และพยาบาลจะประเมินอาการของผู้ป่วยโดยใช้ข้อมูลทางคลินิก ข้อมูลทางพยาธิวิทยาร่วมกับทางสรีรวิทยา ... -
การวิจัยและพัฒนาระบบสารสนเทศและแพลทฟอร์มการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างสภาวิชาชีพกับกระทรวงสาธารณสุขเพื่อการวางแผนและบริหารจัดการกำลังคนสุขภาพของประเทศไทยแบบบูรณาการ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-08)การวิจัยครั้งนี้ มุ่งเน้นการพัฒนาระบบสารสนเทศกำลังคนด้านสุขภาพ เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างสภาวิชาชีพ และกระทรวงสาธารณสุข สำหรับการวางแผนและบริหารจัดการกำลังคนสุขภาพของประเทศไทย โดยการกำหนดชุดมาตรฐานข้อมูลกำลังคนด้านสุขภาพฯ ... -
การสังเคราะห์ข้อเสนอแพลตฟอร์มสุขภาพดิจิทัลตามนโยบายปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุขในเขตสุขภาพนำร่อง ประเด็นโรคติดเชื้ออุบัติใหม่และโรคไม่ติดต่อ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-11)เนื่องจากระบบข้อมูลสารสนเทศสุขภาพของประเทศไทยมีหลายระบบ มีข้อมูลตัวชี้วัดโครงการต่างๆ มากมายมีความซ้ำซ้อนไม่สามารถบูรณาการกันได้ ทั้งระบบรายงานและการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาล ยังไม่ได้นำมาใช้ประโยชน์อย่างเต็มที่ การศึกษาครั ... -
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อตอบสนองต่อระบบบริการสุขภาพจิตวิถีใหม่
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-06)ความเป็นมาและเหตุผล : การเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ของปัจจัยกำหนดสุขภาพจิตในช่วง “ความไม่ปกติใหม่ (New Abnormal)” ส่งผลให้ต้องมีการต้องประเมินสถานการณ์ระบบข้อมูลสุขภาพจิตและนวัตกรรมทางเลือกที่เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศเ ... -
ความชุกของโรคอ้วน โรคอ้วนที่ไม่ได้รับการวินิจฉัยและภาวะแทรกซ้อนของโรคอ้วนจากฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ของโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)ในปัจจุบันอุบัติการณ์ของโรคอ้วนเพิ่มขึ้นทุกขณะ และพบว่ามีความสัมพันธ์ที่ชัดเจนระหว่างดัชนีมวลกายที่เพิ่มขึ้นกับความชุกของโรคเรื้อรัง แต่กลับพบว่ามีผู้ป่วยจำนวนมากที่ไม่ได้รับการวินิจฉัยเป็นโรคอ้วน การวิจัยนี้มีวัตถุประสง ... -
คู่มือปฐมพยาบาลสุขภาพจิตและการดูแลสุขภาพจิตประชาชน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12-25)ปัญหาสุขภาพจิตและโรคซึมเศร้าเป็นปัญหาหนึ่งที่สำคัญของประเทศไทย โดยพบว่าประชากร 1 ใน 5 มีปัญหาสุขภาพจิต นอกจากนั้น ปัญหาสุขภาพจิตมิใช่ส่งผลกระทบต่อเฉพาะผู้ป่วยเท่านั้นแต่ยังรวมไปถึงญาติ ผู้ดูแลและบุคคลในสังคม ปัญหาสุขภาพจ ... -
รูปแบบการอภิบาลระบบสุขภาพดิจิทัล: ข้อเสนอสำหรับระบบสุขภาพไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)ความเป็นมา ผลการศึกษาระบบสุขภาพอิเล็กทรอนิกส์ของไทย (eHealth in Thailand) ในปี พ.ศ. 2553 โดยกระทรวงสาธารณสุขและองค์การอนามัยโลกประจำประเทศไทยพบว่า ประเทศไทยยังไม่มีกลไกการอภิบาลระบบข้อมูลสุขภาพหรือระบบสุขภาพดิจิทัล ... -
แพลตฟอร์มออนไลน์บนมือถือและปัญญาประดิษฐ์แบบเรียนรู้เชิงลึกสำหรับการตรวจคัดกรองมะเร็งช่องปาก
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)การวิจัยในโครงการแพลตฟอร์มออนไลน์บนมือถือและปัญญาประดิษฐ์แบบเรียนรู้เชิงลึกสำหรับการตรวจคัดกรองมะเร็งช่องปากครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อพัฒนาแพลตฟอร์มออนไลน์สำหรับการเก็บข้อมูลรูปภาพทางคลินิกของรอยโรคที่อาจเปลี่ย ...