Browsing by Subject "ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems)"
Now showing items 21-40 of 284
-
การทบทวนประสบการณ์ต่างประเทศในการพัฒนาระบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน และบทเรียนสำหรับประเทศไทย
(สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย (สวปก.) เครือสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.), 2556-02)รายงานฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนการจัดระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินของประเทศที่พัฒนาแล้วและของประเทศไทย ตลอดจนวิเคราะห์เปรียบเทียบจุดแข็งจุดอ่อนเพื่อสังเคราะห์เป็นข้อเสนอสำหรับการพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินของไทยโดยอ ... -
การทบทวนสถานการณ์การสร้างองค์ความรู้และการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพ ตามธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2552
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556)งานวิจัยได้ดำเนินการศึกษาสถานการณ์โดยแบ่งออกเป็นสองระยะ ระยะแรกเป็นการทบทวนสถานการณ์โดยรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณจากแหล่งข้อมูลทุติยภูมิร่วมกับการดำเนินการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนต่อระบบการสร้างองค์ความรู้และการเผยแพร่ข้อม ... -
การทบทวนสถานการณ์ของประโยชน์และโทษที่อาจเกิดจากการใช้กัญชาทางการแพทย์และการเปิดเสรีกัญชา
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-03-31)กัญชาเป็นพืชที่มีสารที่ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทและมีฤทธิ์เสพติดซึ่งพบว่ามีประโยชน์หลายประการ เช่น เพื่อการผ่อนคลาย, ใช้เป็นยาสมุนไพร หรือใช้เส้นใยในการประดิษฐ์สิ่งต่างๆ อย่างไรก็ตาม ก็มีรายงานการวิจัยที่บ่งชี้ว่า กัญชามีผลเส ... -
การทบทวนสถานการณ์ระบบป้องกันควบคุมโรคและปัจจัยที่คุกคามสุขภาพตามธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2552
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-05-14)การทบทวนสถานการณ์ระบบป้องกันควบคุมโรคและปัจจัยที่คุกคามสุขภาพตามธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2552 หมวดที่ 5 ฉบับนี้ได้ทำการรวบรวมสถานการณ์โรคและระบบควบคุมป้องกันโรคและปัจจัยคุกคามสุขภาพ มีข้อค้นพบ ดังนี้ ... -
การทบทวนองค์ความรู้และการวิเคราะห์ทิศทางการวิจัยการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในประเทศไทย พ.ศ. 2493-2550
(ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา, 2551-11)รวมรายชื่อของงานวิจัย หรือการสํารวจวิทยานิพนธ์ และหนังสือที่เกี่ยวกับการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ชื่อผู้วิจัยหรือผู้เขียน แหล่งที่มาของเอกสาร รวมทั้งบทคัดย่อของงานวิจัยและวิทยานิพนธ์ โดยแบ่งเนื้อหาเป็น 4 ด้าน คือ ด้านอุปสงค์ ... -
การทบทวนเอกสารวิชาการ บทเรียนการแก้ไขปัญหาเชื้อดื้อยาในประเทศต่างๆ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-04)การควบคุมหรือแก้ไขปัญหาเรื่องเชื้อดื้อยาได้มีการหารือในระดับนานาชาติ เช่น ในการประชุม World Health Assembly (WHA) ในปี 1998 ที่ประชุมได้มี resolution กระตุ้นให้ประเทศสมาชิกดำเนินการแก้ปัญหาเรื่องเชื้อดื้อยา ในปี 2000 ... -
การทบทวนเอกสารวิชาการสถานการณ์เชื้อดื้อยาในนานาประเทศ : สถานการณ์การใช้ยาปฏิชีวนะและเชื้อดื้อยา ระบบติดตามเฝ้าระวัง และการควบคุม
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-04)โรคติดเชื้อยังคงเป็นปัญหาสำคัญของมนุษย์ในปัจจุบัน ทั้งในแง่อุบัติการณ์การเกิดโรคและการเป็นสาเหตุการเสียชีวิต โดยมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นโดยเฉพาะในประชากรกลุ่มเสี่ยง เช่น ผู้สูงอายุซึ่งมีจำนวนมากขึ้น ผู้ป่วยที่มีภูมิต้านทานต่ำ ... -
การทบทวนและจัดทำแผนที่ระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อในประเทศไทย
(สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค, 2552)ปัจจุบันการกำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์และการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคติดต่อ ส่วนใหญ่ต้องใช้ข้อมูลสารสนเทศของโรคนั้นๆ เป็นพื้นฐาน เช่น ขนาดของปัญหา สถานการณ์และลักษณะทางระบาดวิทยาของโรค สถานการณ์ของเชื้อโรคและพาหะนำโรค ... -
การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ เพื่อการวางแผน ระบบบริการสาธารณสุขด่านแรกในเขต กรุงเทพมหานคร
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์แบ่งเป็นสองระยะคือ ระยะที่หนึ่ง ทำการศึกษาถึงปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้บริการของผู้ป่วยในกรุงเทพมหานคร เพื่อหาขอบเขตของพื้นที่การให้บริการ (catchment area) ของการบริการสาธารณสุขด่านแรกของสถานพย ... -
การประเมินการปฏิบัติตนของประชาชนในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในช่วงครึ่งปีแรกของปี 2564
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-10)ภูมิหลังและเหตุผล การระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) ที่ระบาดมาตั้งแต่ต้นปี พ.ศ. 2563 และเริ่มระบาดระลอกที่สามในช่วงต้นเดือนเมษายน พ.ศ. 2564 ทำให้มีการออกนโยบายป้องกันเชิงสังคมและพฤติกรรม รวมทั้งการ ... -
การประเมินผลการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปากและข้อเสนอเชิงนโยบาย การเข้าถึงบริการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพ ภายใต้ชุดสิทธิประโยชน์ หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)วัตถุประสงค์การศึกษานี้เพื่อศึกษาสถานการณ์การเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปากของประชาชนไทย โดยวิเคราะห์จากฐานข้อมูลดิบ (raw data) การสำรวจอนามัยและสวัสดิการและการสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือนของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ... -
การประเมินสถานการณ์ของการบริการปฐมภูมิในเขตกรุงเทพมหานครด้วยการศึกษา Ambulatory care sensitive conditions
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-02)Ambulatory Care Sensitive Conditions (ACSC) เป็นกลุ่มโรคหรือภาวะซึ่งหากได้รับการดูแลรักษาแบบผู้ป่วยนอกที่เหมาะสมแล้ว จะสามารถป้องกันการนอนพักรักษาตัวในโรงพยาบาลโดยไม่จำเป็นได้ การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินสถาน ... -
การปรับปรุงผลทางคลินิกในการรักษาโรคไต ผ่านระบบทะเบียนโรคโกลเมอรูลัสในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559)ความรู้พื้นฐาน: โรคไตวายระยะสุดท้ายเป็นโรคที่มีอัตราทุพพลภาพ อัตราการเสียชีวิต และค่ารักษาสูงมากในระบบสาธารณสุข การป้องกันการเกิดโรคไตเรื้อรัง/โรคไตวายระยะสุดท้าย คือ การตระหนักรู้โรคตั้งแต่ระยะแรก และการให้การรักษาอย ... -
การปรับปรุงผลทางคลินิกในการรักษาโรคไต ผ่านระบบทะเบียนโรคโกลเมอรูลัสในประเทศไทย ปีที่ 2
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)โรคไตวายระยะสุดท้ายมีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตและเป็นสาเหตุของค่าใช้จ่ายที่สูงมากในระบบสาธารณสุข การป้องกันการเกิดโรคไตวายระยะสุดท้าย คือ การตระหนักรู้โรคตั้งแต่ระยะแรกและการให้การรักษาอย่างเหมาะสม โรคไตอักเสบโกลเมอรูลัสเป็น ... -
การปรับปรุงผลทางคลินิกในการรักษาโรคไตผ่านระบบทะเบียนโรคโกลเมอรูลัสในประเทศไทย ปีที่ 3
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-07-31)ความรู้พื้นฐาน: โรคไตวายระยะสุดท้ายมีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตและเป็นสาเหตุของค่าใช้จ่ายที่สูงมากในระบบสาธารณสุข การป้องกันการเกิดโรคไตวายระยะสุดท้าย คือ การตระหนักรู้โรคตั้งแต่ระยะแรกและการให้การรักษาอย่างเหมาะสม โรคไตอักเส ... -
การพัฒนากระบวนการของการตรวจติดตามทางสิ่งแวดล้อมและสุขภาพและการมีส่วนร่วมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและชุมชนกับผลกระทบจากปัญหาสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ กรณีศึกษาจังหวัดพิจิตร
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555)จากการดำเนินกิจกรรมการทำเหมืองแร่ทองคำในจังหวัดพิจิตร ที่มีการเริ่มดำเนินการสำรวจตั้งแต่ปี พ.ศ. 2527 โดยบริษัทอัคราไมน์นิ่ง จำกัด ได้รับการร้องเรียนจากชุมชนถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ อย่างไรก็ ตามผลกระทบที่เกิดขึ้นดังกล่าว ... -
การพัฒนากระบวนการและฐานข้อมูล ระบบเฝ้าระวังโรคติดเชื้อโควิด-19 สำหรับกลุ่มประชากรไทยข้ามพรมแดน ในเขตสุขภาพที่ 12
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12)จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-19 ส่งผลให้คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดสงขลา มีการมอบหมายอำนาจและหน้าที่ให้มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ภายใต้การรับผิดชอบของคณะแพทยศาสตร์ ดำเนินการโปรแกรมติดตามผู้เดินทางมาจากประเทศมาเลเซีย ... -
การพัฒนาคุณภาพบริการระดับปฐมภูมิและการจัดการระบบสุขภาพระดับอำเภอด้วยเครื่องมือสารสนเทศ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-05)เครื่องมือสารสนเทศเป็นเครื่องมือที่ช่วยแปลงข้อมูลที่จัดเก็บให้เกิดเป็นสารสนเทศที่มีความหมายสามารถใช้ประโยชน์ได้ ซึ่งมีความสำคัญสำหรับการจัดการระบบสุขภาพระดับอำเภอ รวมทั้งการพัฒนาคุณภาพบริการสำหรับหน่วยบริการสุขภาพ ... -
การพัฒนาคู่มือและเครื่องมือที่ช่วยเพิ่มความครอบคลุมในการค้นหาผู้สัมผัสวัณโรคและลดผลกระทบทางสังคมแก่ผู้ป่วยและผู้สัมผัสโรค
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-08)วัณโรคเป็นโรคของความยากจนและมีการตีตราทางสังคมสูง (stigma) ประเทศไทยมีปัญหารุนแรงเกี่ยวกับวัณโรคร่วมกันทั้ง 3 ด้าน คือ มีจำนวนผู้ป่วยวัณโรค, ผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนาน (MDR-TB) และผู้ป่วยวัณโรคติดเชื้อเอชไอวี (TB/HIV) ... -
การพัฒนาชุดเครื่องมือวัดความเป็นธรรมทางสุขภาพโดยอาศัยกลไกประชาคม
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)การขับเคลื่อนกระบวนการปฏิรูประบบสุขภาพ จำเป็นต้องอาศัยพัฒนาการด้านองค์ความรู้ที่นับว่าเป็นปัจจัยสำคัญที่จะนำพาระบบสุขภาพไปสู่เป้าหมายที่พึงประสงค์ได้ ด้านหนึ่งของการปฏิรูประบบสุขภาพให้ความสำคัญกับประเด็นด้านประสิทธิภาพ ...