Browsing by Subject "บุคลากรทางการแพทย์"
Now showing items 1-20 of 29
-
กลไกธรรมาภิบาลในการควบคุมวิชาชีพเวชกรรมในต่างประเทศ : กรณีศึกษาประเทศสหราชอาณาจักร นิวซีแลนด์ และแอฟริกาใต้
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-04)การศึกษาวิจัยเรื่องกลไกธรรมาภิบาลในการควบคุมวิชาชีพเวชกรรมในต่างประเทศ : กรณีศึกษาประเทศสหราชอาณาจักร นิวซีแลนด์ และแอฟริกาใต้ โดยเน้นเรื่องบทบาทหน้าที่ขององค์กรควบคุมกำกับดูแลผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมคือ แพทยสภา ... -
การคาดการณ์กำลังคนทางด้านอาชีพสัตวแพทย์ ปี พ.ศ. 2568
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)อาชีพสัตวแพทย์เป็นอาชีพหลักที่ให้บริการด้านสุขภาพสัตว์ บริการทางด้านสัตวแพทย์นั้น ไม่เพียงแต่จะส่งผลต่อความเป็นอยู่ของสัตว์เท่านั้น แต่ยังส่งผลต่อสุขภาพของมนุษย์ ผ่านบทบาทที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยของอาหารและการควบคุมโร ... -
การคาดการณ์กำลังคนในกลุ่มทันตบุคลากรของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2569
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)ประเทศไทยมีการประมาณการความต้องการทันตบุคลากรหลายครั้ง วิธีการหลักที่ใช้ประมาณการความต้องการทันตแพทย์อ้างอิงจากสภาวะทันตสุขภาพของประชากรแล้วนำมาแปลงเป็นบริการที่ประชากรควรได้รับในมุมมองของทันตแพทย์ และยังไม่พบการประมาณการฯ ... -
การคาดการณ์ความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพ: ฐานที่สำคัญในการวางแผนกำลังคน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)การวางแผนกำลังคนด้านสุขภาพที่มีประสิทธิภาพต้องอาศัยข้อมูลเชิงประจักษ์สำหรับรองรับการตัดสินใจ ดังนั้นการคาดการณ์ความต้องการกำลังคนที่สอดคล้องกับระบบสุขภาพที่พึงประสงค์จึงเป็นสิ่งจำเป็น เพื่อจะนำไปสู่การวิเคราะห์ปัญหาความไ ... -
การจ่ายค่าตอบแทนบุคลากรทางการแพทย์ : ประเด็นข้อขัดแย้ง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-03) -
การประเมินระบบฐานข้อมูลกำลังคนด้านสุขภาพเพื่อนำไปสู่การพัฒนาตัวชี้วัดเชิงนโยบายกำลังคนด้านสุขภาพ (HRH Code Indicators)
(สำนักงานวิจัยและพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ (สวค.) สำนักพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ (IHPP.), 2559-03)การศึกษานี้ พยายามทบทวนสถานการณ์ข้อมูลกำลังคนด้านสุขภาพในประเทศไทย รวมถึงการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องเพื่อนำไปสู่การพัฒนาตัวชี้วัดกำลังคนด้านสุขภาพ จากการศึกษาพบว่าประเทศไทยมีฐานข้อมูลกำลังคนด้านสุขภาพหลากหลายแหล่ง ... -
การพัฒนาประสิทธิภาพทางการคลังที่ยั่งยืนสำหรับระบบหลักประกันสุขภาพ และแบบจำลองการจัดสรรทรัพยากรกำลังคนด้านสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-06)โครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ 1) พื้นที่การคลังสาธารณสุข: ประมาณการช่องว่างในการกำหนดงบประมาณ (Fiscal Space) ของระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและระบบสาธารณสุข และ 2) การจัดสรรบุคลากร: ศึกษาช่องว่างอุปส ... -
การพัฒนาระบบฐานข้อมูลบุคลากรสาธารณสุขในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)ระบบข้อมูลบุคลากรสาธารณสุข (Human Resources in Health Information System) มีความจำเป็นสำหรับนักวางแผนในการกำหนดปริมาณและความต้องการกำลังคนในอนาคต รวมทั้งจำเป็นสำหรับผู้สอนที่จำเป็นต้องมีข้อมูลความต้องการในการฝึกอบรมและพั ... -
การพัฒนาสมรรถนะที่จำเป็นของพยาบาลวิชาชีพในภาวะที่มีการระบาดหรือภายหลังการระบาดของโรค COVID-19: กรณีศึกษา จังหวัดสงขลา
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาสมรรถนะที่จำเป็นของพยาบาลวิชาชีพด้านการพยาบาลผู้ป่วยโรคติดต่ออุบัติใหม่ COVID-19 และพัฒนารูปแบบการพัฒนาสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพด้านการพยาบาลผู้ป่วยโรคติดต่ออุบัติใหม่ COVID-19 ... -
การพัฒนาเครื่องมือการประเมินสมรรถนะการดูแลการใช้ยาต้านจุลชีพของนักเรียนแพทย์ เภสัชกร และสัตวแพทย์ก่อนสำเร็จการศึกษาในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2021-11-30)Antimicrobial stewardship is an essential competency for all health care professions. Antimicrobial stewardship has incorporated managerial aspects as well as knowledge, awareness, and practice of antimicrobial use and ... -
การศึกษาความพึงพอใจของบุคลากรทางการแพทย์ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขต่อค่าตอบแทนที่ได้รับ
(สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย (สวปก.) สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-09)การคงอยู่ของกำลังแรงงานด้านสุขภาพ (health workforce) และการกระจายบุคลากรทางการแพทย์ให้สมดุลระหว่างพื้นที่ (โดยเฉพาะระหว่างพื้นที่เมืองและพื้นที่ชนบท) เป็นปัญหาเรื้อรังที่ประเทศไทยและอีกหลายประเทศทั่วโลกยังไม่สามารถแก้ไขได้ ... -
การศึกษาทิศทางการผลิตกำลังคนสายสาธารณสุขภายใต้การผลิตของหน่วยงานสถาบันพระบรมราชชนก
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)จากการเปลี่ยนแปลงระบบบริการสุขภาพ การผลิตกำลังคนที่มีคุณลักษณะขีดความสามารถในการทำหน้าที่จึงควรมีความสอดคล้องกับสถานการณ์หรือระบบสุขภาพที่เปลี่ยนแปลงไป สถาบันพระบรมราชชนก เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบด้านการผลิตและพัฒนากำลังค ... -
การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตแพทย์และพยาบาลห้องฉุกเฉินในโรงพยาบาลภาครัฐและเอกชนที่ได้รับผลกระทบจากโควิด-19 ในเขตพื้นที่ EEC
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01)โควิด-19 แพร่ระบาดอย่างต่อเนื่อง พบผู้ติดเชื้อสูงขึ้นโดยเฉพาะพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor; EEC) เป็นเขตพื้นที่ควบคุมสูงสุด กลายเป็นมหาวิกฤติทางสาธารณสุข ซึ่งแพทย์และพยาบาลห้องฉุกเฉินเป็นด่ ... -
การศึกษาสถานการณ์และความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพระดับปฐมภูมิในสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)ในการควบคุมการระบาดของโรค เช่น โรคโควิด-19 จำเป็นต้องสกัดโรคให้อยู่ในวงจำกัด ซึ่งเป็นบทบาทของสถานบริการระดับปฐมภูมิ ได้แก่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) ในการติดตามผู้สัมผัสและการค้นหาเชิงรุกในชุมชน โดยการศึกษานี้ ... -
การศึกษาเพื่อพัฒนามาตรการกักตัวสำหรับบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขที่สัมผัสผู้ติดเชื้อโควิด-19
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)ความเป็นมา: บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขถือได้ว่าเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อการสัมผัสโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โรคโควิด-19 ในระหว่างปฏิบัติงาน โดยเฉพาะในสถานการณ์ที่มีการระบาดของโรคในวงกว้าง เมื่อบุคลากรทางการแพ ... -
การสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายในการพัฒนากำลังคนด้านการพยาบาล: การผลิต การกระจาย การธำรงรักษา เพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์การระบาดของโรคระบาดใหญ่
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01)การวิจัยแบบผสมผสานครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายในการพัฒนากำลังคนด้านการพยาบาล: การผลิต การกระจาย การธำรงรักษาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 เก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างทั้งเชิงปริมาณ ... -
การสาธารณสุขไทยกับการวางแผนกำลังคนด้านการแพทย์แผนไทยในปี พ.ศ. 2569
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)การศึกษาสถานการณ์กำลังคนด้านการแพทย์แผนไทยในสถานบริการภาครัฐ การผลิตกำลังคนในสถาบันการศึกษา และความต้องการกำลังคนด้านการแพทย์แผนไทย เพื่อนำไปสู่การวางแผนการผลิตและพัฒนากำลังคนในอนาคต เป็นการศึกษาแบบผสมผสาน (mixed method) ... -
การเข้ามาทำงานโรงพยาบาลในประเทศไทยของบุคลากรต่างชาติ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)การศึกษาการเข้ามาทำงานของบุคลากรสุขภาพชาวต่างชาติในประเทศไทยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะส่วนบุคคลของบุคลากรชาวต่างชาติที่เข้ามาทำงานโรงพยาบาลในประเทศไทย ปัจจัยที่ทำให้บุคลากรชาวต่างชาติตัดสินใจมาทำงานโรงพยาบาล ... -
ความคาดหวังของผู้อำนวยการโรงพยาบาลชุมชนในเขตสุขภาพที่ 2 ต่อหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตของคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-12)ภารกิจหลักข้อหนึ่งของคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร คือ การผลิตบัณฑิตแพทย์ในโครงการผลิตแพทย์เพิ่มเพื่อชาวชนบท ซึ่งรับนักเรียนที่มีภูมิลำเนาใน 5 จังหวัดของเขตสุขภาพที่ 2 จำนวน 145 คนต่อปี เมื่อสำเร็จการศึกษาจะกลับไปปฏิบั ... -
ความชุกและอุบัติการณ์ของการติดเชื้อด้วยการตรวจทางซีโรโลยีและการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อการติดเชื้อ SARS-CoV-2 ในบุคลากรทางการแพทย์ด่านหน้าที่ดูแลผู้ป่วย เปรียบเทียบกับบุคลากรทางการแพทย์ที่ไม่ได้ดูแลผู้ป่วย COVID-19 ในสถานการณ์การระบาดของโรค COVID-19 ภายในโรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-12)หลักการและเหตุผล บุคลากรทางการแพทย์ที่ทำงานด่านหน้า เป็นกลุ่มเสี่ยงสูงที่มีโอกาสติดเชื้อโควิด ทำให้มีโอกาสต้องตรวจสวอปบ่อยครั้ง การตรวจด้วยวิธีทางซีโรโลยี ทำได้ง่ายและสามารถใช้ในการเฝ้าระวังได้ การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสง ...