• ศักยภาพขององค์กรท้องถิ่นในการจัดการดูแลผู้สูงอายุทุพพลภาพในชุมชน 

      กวินารัตน์ สุทธิสุคนธ์; สุพัตรา ศรีวณิชชากร; จุฑาธิป ศีลบุตร; เกรียงศักดิ์ ธรรมอภิพล; สมชาย วิริภิรมย์กูล; Kawinarat Suthisukon; Supattra Srivanichakorn; Jutatip Sillabutra; Kriengsak Thamma-Aphiphol; Somchai Viripiromgool (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-06)
      การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาศักยภาพขององค์กรท้องถิ่นในการจัดการดูแลผู้สูงอายุทุพพลภาพในชุมชน ปัญหาอุปสรรค ความต้องการของผู้สูงอายุในชุมชนและข้อเสนอแนะ โดยใช้รูปแบบการวิจัยเชิงปฏิบัติการ ผลการวิจัยพบว่าองค์กรท้องถิ ...
    • ศักยภาพประชาคมในการจัดการปัญหาความรุนแรงต่อผู้หญิงและเด็ก 

      พิมพวัลย์ บุญมงคล; Pimpawan Boonmongkon; มัลลิกา มัติโก; นิภรณ์ สัณหจริยา; แววรุ้ง นาวาบุญนิยม; ธีรศักดิ์ พรหมพันใจ; อัมพร หมาดเด็น; ศุภเลิศ กิจขจรไพบูลย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      งานวิจัยนี้ศึกษาถึงศักยภาพประชาคมที่สนองตอบต่อปัญหาความรุนแรงทั้งในระดับมหภาคและปัจเจก โดยวิเคราะห์ตั้งแต่ภาพรวมของสถานการณ์ประชาคม การก่อเกิด แนวคิด พัฒนาการ บทบาท และรูปแบบในการจัดการปัญหาความรุนแรงต่อผู้หญิงและเด็ก ...
    • ศักยภาพประชาสังคมภาคสตรีในการแก้ปัญหาเอดส์ 

      บุปผา วัฒนาพันธ์; Bubpha Wattabaphan; ศิวรักษ์ ศิวารมย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      ผู้ป่วยโรคเอดส์มักจะถูกสังคมรังเกียจ ก่อให้เกิดการแตกแยกของครอบครัว ปัจจุบันวิกฤติโรคเอดส์ได้สะท้อนให้เห็นถึงการไร้ความสามารถในการจัดการขององค์กรภาครัฐและความเข้าใจของประชาชนในการจัดการด้านนี้ การเคลื่อนไหวทางสังคมเพื่อก ...
    • ศักยภาพผู้จัดการงานวิจัยไทย : กรณีศึกษาการวิจัยระบบสุขภาพ 

      จเร วิชาไทย; Charay Vichathai; พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; Pongpisut Jongudomsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากรอบการประเมินศักยภาพผู้จัดการงานวิจัยสุขภาพและประเมินศักยภาพผู้จัดการงานวิจัยสุขภาพตามกรอบดังกล่าวด้วยวิธีการประเมินตนเอง และใช้กลุ่มตัวอย่างที่เลือกอย่างเจาะจง 20 คนที่เป็นผู้จัดการงา ...
    • ศักยภาพผู้ดูแลเด็กในการพัฒนาระดับเชาวน์ปัญญาและระดับอารมณ์ของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอำเภอเพ็ญ จังหวัดอุดรธานี 

      เกรียงศักดิ์ เอกพงษ์; Kreangsak Aekphong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวาง มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ประเมินความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติของผู้ดูแลเด็กในการพัฒนาระดับเชาวน์ปัญญา (ไอคิว) และระดับอารมณ์ (อีคิว) ของเด็กในศูนย์เด็กเล็ก 2. ระบุสถานการณ์ปัญหา ...
    • ศักยภาพระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการในการกำกับโรงพยาบาลเอกชนคู่สัญญา 

      สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; นพคุณ ธรรมธัชอารี; พัชนี ธรรมวันนา; สุธีรดา ฉิมน้อย; Samrit Srithamrongsawat; Noppakun Thammatacharee; Patchanee Thamvanna; Sutheerada Chimnoi (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-03)
      ระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลได้ขยายสิทธิแก่ผู้ป่วยให้สามารถไปรับบริการผ่าตัดแบบไม่เร่งด่วน 77 รายการในโรงพยาบาลเอกชนคู่สัญญาได้ตั้งแต่พฤษภาคม 2554 การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินศักยภาพของระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราช ...
    • ศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข : บทบาทและบริบทที่เปลี่ยนไปในสังคมไทย 

      โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์; ปารณัฐ สุขสุทธิ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-02-19)
    • ศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขในสถานการณ์การเปลี่ยนแปลง : การสังเคราะห์ความรู้สู่ยุทธศาสตร์การพัฒนา 

      สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ; โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์; Komatra Chuengsatiansup (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      การศึกษานี้ต้องการประเมินศักยภาพที่ดำรงอยู่ของอสม.ในประเทศไทยที่สอดคล้องกับบริบททางสังคมและสถานการณ์สุขภาพที่เปลี่ยนแปลงไป โดยใช้กระบวนการสังเคราะห์ความรู้จากการทบทวนสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องทั้งจากเอกสารและการประชุมเชิงปฏิ ...
    • ศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขในสถานการณ์การเปลี่ยนแปลง : การสังเคราะห์ความรู้สู่ยุทธศาสตร์การพัฒนา 

      โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์; Komatra Chuengsatiansup (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      การศึกษานี้ต้องการประเมินศักยภาพที่ดำรงอยู่ของอสม.ในประเทศไทยที่สอดคล้องกับบริบททางสังคมและสถานการณ์สุขภาพที่เปลี่ยนแปลงไป โดยใช้กระบวนการสังเคราะห์ความรู้จากการทบทวนสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องทั้งจากเอกสารและการประชุมเชิงปฏิ ...
    • ศักยภาพและแนวทางการสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาสิ่งประดิษฐ์ที่เหมาะสมกับการบริการสุขภาพในสถานบริการสาธารณสุขส่วนภูมิภาค 

      สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ; พินทุสร เหมพิสุทธิ์; ไพจิตร์ เพ็งไพบูลย์ (2540)
      รายงานการศึกษาวิจัยเรื่องนี้ได้รวบรวมนวัตกรรมที่ชาวสาธารณสุขได้ริเริ่มประดิษฐ์คิดค้นมาใช้เสริมบริการสุขภาพซึ่งนับว่าเป็นเรื่องที่ดีมาก สะท้อนศักยภาพแฝงที่น่าสนับสนุนต่อไปเป็นอย่างยิ่ง เพราะสามารถขยายสู่ระดับการผลิตในเชิง ...
    • ศัพท์บัญญัติ : peer review 

      สมชัย บวรกิตติ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      จากการประชุมคณะราชบัณฑิตที่ปรึกษา ครั้งที่ 15/2551 เมื่อวันพุธที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2551 ได้มีมติบัญญัติศัพท์และคำนิยามศัพท์ peer review ตามมติของคณะกรรมการจัดทำพจนานุกรมศัพท์ศึกษาศาสตร์ (จดหมายลงวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2551)
    • ศัพท์สับสน : การบำบัดกับการรักษา 

      สมชัย บวรกิตติ; จรวยพร ศรีศศลักษณ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-12)
    • ศัพท์สับสน : Art กับ Arts 

      เลิศศิริร์ บวรกิตติ; สมชัย บวรกิตติ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-12)
    • ศัพท์สับสน : Dispersal, Dispersion, Distribution 

      อรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะ; สมชัย บวรกิตติ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-12)
    • ศิลปกรรมบำบัดภาวะเครียดหลังภยันตราย 

      เลิศศิริ์ บวรกิตติ; Lertsiri Bovornkitti (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-12)
    • ศิลปกรรมบำบัดรำลึก 

      ไพฑูรย์ สมุทรสินธุ์; Paitoon Samuthrsindh (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-09)
    • ศิลปกรรมบำบัดเด็กเหยื่อน้ำหลาก ดินถล่มที่อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ 

      เลิศศิริร์ บวรกิตติ; Lertsiri Bovornkitti; ประภา โสฬสจินดาขนันทวรศิลป์; Prapa Sorosjinda-Nunthawarasilp; สมัย ศิริทองถาวร; Samai Sirithongthaworn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      ศิลปกรรมบำบัดเป็นศาสตร์แขนงหนึ่งที่ถูกนำมาใช้เป็นวิธีบำบัดภาวะผิดปรกติทางจิตใจในรูปแบบต่างๆ โดยเฉพาะประเภทที่เกิดจากได้รับการทำร้ายจิตใจ คณะผู้วิจัยนี้ได้นำวิธีการไปประยุกต์ใช้ในเด็กผู้ป่วยที่ได้รับผลกระทบทางจิตใจจากภัยธรรมชาติ ...
    • ศิลปกรรมบำบัดในประเทศไทย : กำเนิดศูนย์สาธิตศิลปกรรมบำบัด และสัมมนา “ผู้เชี่ยวชาญด้านศิลปกรรมบำบัด ครั้งที่ 3” 

      สมจิตร ไกรศรี; เลิศศิริร์ บวรกิตติ; Lertsiri Bovornkitti (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      สถาบันราชานุกูล กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข เปิดศูนย์สาธิตศิลปกรรมบำบัดเป็นทางการในวันที่ 3 เมษายน 2551 เพื่อเป็นสถานที่ให้การศึกษาค้นคว้าและวิจัย หลังจากที่แผนกศิลปกรรมบำบัดของสถาบันฯ ได้ให้บริการในการดูแลผู้บกพร่องทา ...
    • ศิลปะกับศิลปะภาษาเพื่อเด็กพิการ 

      เลิศศิริร์ บวรกิตติ; จุลนี เทียนไทย; Lertsiri Bovornkitti; Chulanee Thianthai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-09)
      ดร.ฟรานเศส อี. แอนเดอร์สัน เจ้าของบทความนี้ ได้เสนอรูปแบบศิลปกรรมเชิงภาษาที่ช่วยเปิดเผยความในใจของปัจเจกบุคคลที่ไม่สามารถหรือไม่ต้องการแสดงออกทางวาจา ในบทบาททำนองเดียวกันกับทัศนศิลป์ที่แสดงออกเชิงสัญลักษณ์ ศิลปกรรมภาษา ...
    • ศิลปะเพื่อการบำบัด 2 : ภาคทฤษฎี 

      เลิศศิริร์ บวรกิตติ; Lertsiri Bovornkitti (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      ทฤษฎีศิลปกรรมบำบัดอาศัยแนวคิดว่าภาษาสัญลักษณ์ทางทัศนศิลป์ (ภาพวาดเขียน และงานประติมากรรม) ของจิตไร้สำนึก ช่วยแสดงออกอารมณ์ขัดแย้งหรือประสบการณ์อุกฉกรรจ์ที่ส่งผลกระทบสถานภาพจิตใจ ซึ่งโดยปฏิบัติการศิลปะภายใต้การดูแลของนักศ ...