• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI) เลือกตามชื่อเรื่อง 
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI) เลือกตามชื่อเรื่อง
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI) เลือกตามชื่อเรื่อง
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI) เลือกตามชื่อเรื่อง

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 4413-4432 จาก 5569

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • รูปแบบการจัดและให้บริการสุขภาพระดับปฐมภูมิในชุมชน กรุงเทพมหานคร 

      กอบกุล พันธ์เจริญวรกุล; Kobkul Pancharoenkul; ปนัดดา ปริยทฤฆ; พัสมณฑ์ คุ้มทวีพร; สุมณฑา สิทธิพงศ์สกุล; ธิติมา จำปีรัตน์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      ระบบบริการสุขภาพของกรุงเทพมหานครในปัจจุบัน จำเป็นต้องมีการพัฒนาปรับปรุงทั้งระบบการจัดการ และกระบวนการดำเนินงาน ทั้งนี้เนื่องจากความไม่เท่าเทียมกันของการเข้าถึงการบริการ สิทธิต่างๆ ที่ควรจะได้รับ และคุณภาพบริการ ...
    • รูปแบบการจัดและให้บริการสุขภาพระดับปฐมภูมิในชุมชน: กรณีศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 

      จินตนา ลี้ละไกรวรรณ; กล้าเผชิญ โชคบำรุง; บำเพ็ญจิต แสงชาติ; หทัยชนก บัวเจริญ; อัมพร เจริญชัย; สุพรรณี สุ่มเล็ก; วรรณภา นิวาสะวัต; ขนิษฐา นันทบุตร; ปราณี ธีรโสภณ; พีรพงษ์ บุญสวัสดิ์กุลชัย; ทิพยกาย เปรุนาวิน; ชวนพิศ ทำนอง; ภัณฑิลา อิฐรัตน์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      การบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ นับได้ว่าเป็นยุทธวิธีที่สําคัญอย่างหนึ่ง ที่จะช่วยให้คนมีศักยภาพในการดูแลตนเองได้ การทําความเข้าใจเรื่องการบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตประชาชนในชุมชน คณะผู้วิจัยได้ทําการศึก ...
    • รูปแบบการจัดและให้บริการสุขภาพระดับปฐมภูมิในชุมชนภาคตะวันออก 

      สุนทราวดี เธียรพิเชฐ; Suntravadee Thienpichet; สุวรรณา จันทร์ประเสริฐ; รวีวรรณ เผ่ากัณหา; รัชนี สรรเสริญ; วิจิตร์พร หล่อสุวรรณกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ เพื่อศึกษาและพัฒนารูปแบบระบบการจัดและให้บริการสุขภาพในระดับปฐมภูมิ ในชุมชนภาคตะวันออก มีกระบวนการศึกษา 5 ขั้นตอน คือ 1) การศึกษาสถานการณ์สุขภาพและความต้องการ การบริการสุขภาพของประชาชน ...
    • รูปแบบการจ่ายค่าบริการด้านการสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคกับผลกระทบต่อพฤติกรรมของผู้ให้บริการ 

      จิตติ วิสัยพรม; Jitti Wisaiprom; วิทธวัช พันธุมงคล; Witthawat Pantumongkol; วิไลลักษณ์ แสงศรี; Wilailak Saengsri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)
      สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ได้จัดตั้งกองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (กองทุน P&P) โดยมีเป้าหมายเพื่อบริหารงบประมาณสำหรับการสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค ทั้งนี้ การดำเนินงานด้าน P&P ตั้งแต่อดีตจนถึงป ...
    • รูปแบบการจ่ายค่ารักษาพยาบาลสำหรับระบบประกันสุขภาพ กลไกและมาตรการในการลดความเหลื่อมล้ำระหว่างระบบประกันสุขภาพ 

      ทัสนีย์ จันทร์น้อย (ศูนย์พัฒนากลุ่มโรคร่วมไทย, 2556-04-25)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการ การวิจัยระบบสุขภาพประจำปี 2556 การจัดการความรู้สู่ระบบสุขภาพที่เป็นธรรม วันที่ 25-26 เมษายน 2556 ณ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ แจ้งวัฒนะ กรุงเทพมหานคร
      ป้ายกำกับ:
      ยอดนิยม
    • รูปแบบการจ้างงาน การคงอยู่ของบุคลากรสุขภาพและภาระงบประมาณ: กรณีศึกษาเฉพาะแพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกรและพยาบาลในภาครัฐ ระยะ 15 ปีข้างหน้า 

      พัชรี เพชรทองหยก; Patcharee Phetthongyok; พิกุลแก้ว ศรีนาม; Pigunkaew Sinam; นารีรัตน์ ผุดผ่อง; Nareerut Pudpong; นิธิวัชร์ แสงเรือง; Nithiwat Saengruang; สตพร จุลชู; Sataporn Julchoo; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; กฤษดา แสวงดี; Krisada Sawaengdee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-06)
      ในปัจจุบันนั้น ภาครัฐของไทยมีนโยบายลดการจ้างงานบุคลากรสุขภาพที่เป็นข้าราชการลง นโยบายดังกล่าวไม่เพียงแต่ส่งผลต่อบุคลากรฝ่ายสนับสนุนบริการสุขภาพเท่านั้น แต่ยังรวมถึงวิชาชีพด้านสุขภาพต่างๆ ที่สำคัญ ทั้งแพทย์ ทันตแพทย์ ...
    • รูปแบบการดำเนินงานทันตสุขภาพ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง 

      วิโรชา เพียรเจริญ (โรงพยาบาลป่าบอน จังหวัดพัทลุง, 2555-07-11)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัยครั้งที่ 5 “วิถี R2R: เรียบง่าย คุณภาพ ครบวงจร” วันที่ 10 - 12 กรกฎาคม 2555 ณ ศูนย์การประชุมอิมแพ็คฟอรั่ม เมืองทองธานี
    • รูปแบบการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น : ในเขตบริการสุขภาพที่ 3 

      บงกฎ พัฒนา; มโน มณีฉาย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษารูปแบบการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ในเขตบริการที่ 3 โดยมีกระบวนการดำเนินงานพัฒนา ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 วิเคราะห์และประเมินสถานการณ์การดำเนินงานส่งเส ...
    • รูปแบบการดำเนินงานเพื่อผลมผลานงานโรคติดต่อ และโรคไม่ติดต่อ จังหวัดแพร่ 

      ภุชงค์ วีรผลิน; Phuchong Weerapalin; ปรีดา ดีสุวรรณ; ทาดา เจริญสกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
      Model for integration of communicable and non-communicable disease, Phrae provinceThe purpose of this study I to find out the way of integration the CD and NCD operation in Phrase by using the model evaluative research ...
    • รูปแบบการดูแลทางไกลด้วยระบบแยกกักตัวที่บ้านในมิติกำลังคนด้านสุขภาพในเขตสุขภาพที่ 12 ของไทย 

      วรัญญา จิตรบรรทัด; Waranya Jitbantad; ภัทรธิดา ฟองงาม; Pattaratida Fong-ngam; ขัตติยา เสมอภพ; Khattiya Samerpop; ไมซาเร๊าะ ขุนรักษ์ หมานระเด็น; Maisaroh Khunrak Manraden; ฮัสสัน จิตรบรรทัด; Hassan Jitbantad (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ที่ส่งผลให้อัตรากำลังด้านสุขภาพไม่เพียงพอต่อการดูแลผู้ติดเชื้อ ก่อให้เกิดรูปแบบการดูแลแบบแยกกักตัวที่บ้านขึ้น และมีกลุ่มจิตอาสาด้านสุขภาพช่วยดูแลโดยใช้รูปแบบการดูแลทางไกล การวิจัยเชิงค ...
    • รูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังและการสนับสนุนการจัดการตนเองในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 

      วิมลรัตน์ ภู่วราวุฒิพานิช; Wimolrat Puwarawuttipanit; จงกลวรรณ มุกสิกทอง; ศรินรัตน์ ศรีประสงค์; วารุณี พลิกบัว; ปิโยรส เกษตรกาลาม์; สิริกาญจน์ หาญรบ; วิภารัตน์ ศรีสุวรรณ; ลินจง โปธิบาล; จิราภรณ์ เตชะอุดมเดช; สุนิภา ชินวุฒิ; ธวัชชัย สัตยสมบูรณ์; ปทุมทิพย์ อดุลวัฒนศิริ; ศรีสุดา เอกลัคนา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      การศึกษาครั้งนี้เป็นการทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบเพื่อศึกษา รูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังและการสนับสนุนการจัดการตนเอง โดยคัดเลือกงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์และไม่ได้รับการตีพิมพ์ ซึ่งเป็นรายงานวิจัยที่ทำในประเทศไทยและต ...
    • รูปแบบการบริการรักษาพยาบาลและประสบการณ์ต่อการติดตามการรักษาการติดเชื้อเอชไอวีสำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์ในช่วงเวลาก่อนการระบาดและช่วงที่มีการระบาดของโรคติดเชื้อโควิด 19 ของแพทย์ พยาบาลและผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์ในเขตบริการสุขภาพที่ 5 

      สุภาภรณ์ วรอรุณ; Supaporn Voraroon; ณัฎฐวรรณ คำแสน; Natawan Khumsaen; ศิริพร ชุดเจือจีน; Siriporn Chudjuajeen; สุพรรณี เปี้ยวนาลาว; Supannee Peawnalaw; อุมากร ใจยั่งยืน; Umakorn Jaiyungyuen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพ (Qualitative research) ใช้วิธีวิจัยเชิงปรากฏการณ์วิทยา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการบริการรักษาพยาบาลและประสบการณ์ต่อการติดตามการรักษาการติดเชื้อเอชไอวีสำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ ...
    • รูปแบบการบริการสุขภาพของสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินี และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ภายหลังการถ่ายโอนภารกิจให้แก่องค์การบริหารส่วนจังหวัด โดยใช้กลไกพระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ. 2562 

      รัถยานภิศ รัชตะวรรณ; Ratthayanaphit Ratchathawan; เบญจวรรณ ถนอมชยธวัช; Benjawan Thanormchayatawat; รุ่งนภา จันทรา; Rungnapa Chantra; บุญประจักษ์ จันทร์วิน; Boonprajuk Junwin; วัลลภา ดิษสระ; Wanlapa Dissara; ปิยะพร พรหมแก้ว; Piyaporn Promkaew; มลิวัลย์ รัตยา; Maliwan Rattaya; อัญชนา วิชช์วัฒนางกูร; Anchana Witwattanangoon; วิลาสินี แผ้วชนะ; Wilasinee Paewchana; จีรภา แก้วเขียว; Jeerapa Kaewkiaw; ชนัดดา อนุพัฒน์; Chanatda Anupat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-09)
      ระบบสุขภาพปฐมภูมิเป็นการจัดกลไกและกระบวนการในการประสานความร่วมมือเพื่อจัดบริการสุขภาพปฐมภูมิ ภายใต้พระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ. 2562 การบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ เป็นภารกิจใหม่ที่ยังไม่เคยปรากฏในอำนาจและหน้าที่ของอ ...
    • รูปแบบการบริหารจัดการศูนย์ประสานการส่งต่อ เขตสุขภาพที่ 6 

      เกศรินทร์ ไทยศรีวงศ์; Kessarin Thaisriwong; ยุพเยาว์ วิศพรรณ์; Yupayao Witsapan; บัญชา พร้อมดิษฐ์; Bancha Promdit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดจันทบุรี, 2559)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการศูนย์ประสานการส่งต่อระดับจังหวัดและระดับเขตตามกรอบการบริหารจัดการ บุคลากร วัสดุอุปกรณ์ และงบประมาณ กลุ่มตัวอย่างแบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ 1) กลุ่มผู้บริหาร ได้แก่ ...
    • รูปแบบการบริหารจัดการโรงพยาบาลเพื่อผู้ประกันตน 

      นิพิฐ พิรเวช; ถาวร สกุลพาณิชย์; ครรชิต สุขนาค; สถาพร ปัญญาดี; บุณยวีร์ เอื้อศิริวรรณ; อุทุมพร วงษ์ศิลป์; ณัฏฐ์นิธิมา แจ้งประจักษ์ (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559)
      การวิจัยเรื่องรูปแบบการบริหารจัดการเพื่อผู้ประกันตนนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการดำเนินงานและความเป็นไปได้ทางการเงินในการจัดตั้งโรงพยาบาลประกันสังคม โดยใช้กระบวนการวิจัยแบบผสมผสาน ประกอบด้วย การทบทวนเอกสารเกี่ยวกั ...
    • รูปแบบการปฏิบัติการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในสถานบริการในประเทศไทย 

      ศิริพันธุ์ สาสัตย์; ทัศนา ชูวรรธนะปกรณ์; เพ็ญจันทร์ เลิศรัตน์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-11-16)
      ความต้องการการดูแลในสถานบริการที่มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น พบว่ายังไม่มีแนวทางการปฏิบัติการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวที่ดีและยังไม่มีระบบการกำกับดูแลที่ชัดเจน วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อศึกษาการปฏิบัติการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในสถา ...
    • รูปแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงที่มีสิทธิข้าราชการ อำเภอพระยืน จังหวัดขอนแก่น 

      นิรันดร มณีกานนท์; Nirandorn Maneeganondh; สำรวย แสงดารา; Samrauy Saengdara; แดง รัตนากร; Dang Rattanakorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การศึกษาแบบกึ่งทดลองเปรียบเทียบผลของโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงที่มีสิทธิข้าราชการ 118 คน เมื่อเริ่มโครงการกับเมื่อสิ้นสุดโครงการในระยะเวลาห่างกัน 6 เดือน โดยการบรรยายให้ความรู้และการฝึกปฏิบัติ เป็นเวลา ...
    • รูปแบบการผสมผสานการดำเนินงานควบคุมโรคระหว่างโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อจังหวัดยโสธร 

      วินัย สวัสดิวร; Winai Sawatdiworn; สุนทรี รัศมิทัต; ชฎาภรณ์ สุขนิรันดร์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
      Model for integration of communicable and non-communicable disease,Yasothon provinceThe objective of this study was to develop a model for integration the control of communicable and non-communicable diseases in Yasothon ...
    • รูปแบบการผสมผสานงานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในระดับจังหวัด 

      วิวัฒน์ โรจนพิทยากร; Wiwat Rojchanapitayakorn; ฉายศรี สุพรศิลป์ชัย; ปฐม สวรรค์ปัญญาเลิศ; นิรชรา อัศวธีรากุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
      Model development for intregration of communicable and non-communicable disease control at the provincial levelThis project is aimed to develop and test an appropriate model or models for integration of communicable disease ...
    • รูปแบบการพัฒนาการสื่อสารสุขภาพและนักสื่อสารสุขภาพด้านสื่อสิ่งพิมพ์ 

      บุญเรือง เนียมหอม; Boonruang Niamhom; กำพล ดำรงค์วงศ์; Kampol Dumrongworng (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      วัตถุประสงค์ในการวิจัย เพื่อ 1) ศึกษากระบวนการและขั้นตอนผลิตสื่อสิ่งพิมพ์สุขภาพของผู้เชี่ยวชาญด้านการสื่อสารสุขภาพ 2) ศึกษาความคิดเห็นของนักสื่อสารสุขภาพเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาการสื่อสารสุขภาพด้านสื่อสิ่งพิมพ์เพื่อประชาชน ...

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หน่วยงานนี้ปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [620]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [100]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [126]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [160]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1292]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [234]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [21]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV