แสดงรายการ 561-580 จาก 5437

    • บทบาทของเครือข่ายในระบบบริการปฐมภูมิในการคัดกรองและเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงโควิด 19 ใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประเทศไทย 

      วิไล อุดมพิทยาสรรพ์; Wilai Udompittayason; ปรียนุช ชัยกองเกียรติ; Preeyanuch Chaikongkiat; ดวงใจ เปลี่ยนบำรุง; Doungjai Plianbumroong; อัจฉรา มุสิกวัณณ์; Atchara Musigawan; ผุสนีย์ แก้วมณีย์; Pootsanee Kaewmanee; เขมพัทธ์ ขจรกิตติยา; Khemmapat Kajonkittiya; พิชญ์ชญานิษฐ์ เรืองเริงกุลฤทธิ์; Pichayanit Ruangroengkulrit; นุศรา ดาวโรจน์; Nutsara Dowrote; อนุชิต คลังมั่น; Anuchit Klangman; คอลิด ครุนันท์; Kholid Karunan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      การวิจัยนี้เป็นการศึกษาวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed methods) โดยการเก็บข้อมูลการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ในพื้นที่จังหวัดยะลา ปัตตานี และนราธิวาส จังหวัดละ 2 อำเภอ รวม 6 อำเภอ วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาบทบาทของเครือข่ายในระบบ ...
    • การศึกษาปัจจัยเสี่ยงช่วงตั้งครรภ์และช่วงขวบปีแรก กับการเกิดเมตาบอลิกซินโดรมและโรคหลอดเลือด เมื่ออายุ 30 ปี 

      กิตติพันธุ์ ฤกษ์เกษม; Kittipan Rerkasem; ปิยะมิตร ศรีธรา; Piyamitr Sritara; อัมพิกา มังคละพฤกษ์; Ampica Mangklabruks; ศักดา พรึงลำภู; Sakda Pruenglampoo; อมราภรณ์ ฤกษ์เกษม; Amaraporn Rerkasem; กรองพร องค์ประเสริฐ; Krongporn Ongprasert; สุชยา ลือวรรณ; Suchaya Luewan; กนกวรรณ กุลประชากานต์; Kanokwan Kulprachakarn; วสันต์ ภาคลักษณ์; Wason Parklak; ศศิณัฏฐ์ พงษ์ธรรม; Sasinat Pongtam (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างบุตรที่มีน้ำหนักแรกคลอดน้อยกับกลุ่มอาการเมตาบอลิกซินโดรมของบุตรที่ได้ศึกษาน้ำหนักแรกเกิดเมื่อ 30 ปีที่แล้ว ทั้งนี้ยังทำการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างน้ำหนักเพิ่มขึ้นอย่า ...
    • รักสุด เซฟให้สุด พ่อแก่ แม่เฒ่า ปลอดภัยจากโควิด 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-04)
      Infographic การป้องกันผู้สูงอายุจากการติดเชื้อโควิด-19
    • แผนปฏิบัติการ บูรณาการจีโนมิกส์ประเทศไทย Genomics Thailand (พ.ศ. 2563-2567) 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09)
      Infographic แผนปฏิบัติการ แผนงานจีโนมิกส์ ประเทศไทย (Genomics Thailand) พ.ศ. 2563-2567
    • จีโนมิกส์ ประเทศไทย 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09)
      Infographic แนะนำแผนงานจีโนมิกส์ ประเทศไทย (Genomics Thailand) การแพทย์จีโนมิกส์ คือ การแพทย์ที่อาศัยเทคโนโลยีพันธุศาสตร์ระดับโมเลกุล เพื่อประเมินความเสี่ยง วินิจฉัย และพยากรณ์โรค วิสัยทัศน์ คือ ประเทศไทยเป็นผู้นำด้านการ ...
    • แอปพลิเคชัน KhunLook คุณลูก ตัวช่วยพ่อแม่ยุค New Normal เพื่อดูแลพัฒนาการลูกน้อย 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-06)
      Infographic ข้อมูลจากโครงการวิจัย แอปพลิเคชันบนอุปกรณ์พกพาเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการเด็กไทย (https://kb.hsri.or.th/dspace/handle/11228/4796) แอปพลิเคชันคุณลูก (KhunLook) เพื่อการติดตามการเติบโตของลูกได้อย่างต่อเนื่อง ...
    • รับยาที่ร้านยา ทำอย่างไร 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-05)
      Infographic ข้อมูลจากโครงการวิจัย Infographic ข้อมูลจากโครงการวิจัย การประเมินโครงการนำร่องให้ผู้ป่วยรับยาที่ร้านขายยาเพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาล (https://kb.hsri.or.th/dspace/handle/11228/5445) แสดงขั้นตอนการรับยาที่ร้านยา
    • รับยาที่ร้านยา ลดเสี่ยงโควิด ลดแออัดในโรงพยาบาล 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-05)
      Infographic ข้อมูลจากโครงการวิจัย Infographic ข้อมูลจากโครงการวิจัย การประเมินโครงการนำร่องให้ผู้ป่วยรับยาที่ร้านขายยาเพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาล (https://kb.hsri.or.th/dspace/handle/11228/5445)
    • ระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุโรคเบาหวานภายหลังการระบาดของโรคติดเชื้ออุบัติใหม่ไวรัสโควิด–19 ของหน่วยบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิในเขตภาคใต้ 

      รัถยานภิศ รัชตะวรรณ; Ratthayanaphit Ratchathawan; เบญจวรรณ ถนอมชยธวัช; Benjawan Thanormchayatawat; บุญประจักษ์ จันทร์วิน; Boonprajuk Junwin; วัลลภา ดิษสระ; Wanlapa Dissara; นรานุช ขะระเขื่อน; Naranuch Karakhuean; วรรณรัตน์ จงเขตกิจ; Wannarat Jongkhetkit; สมฤดี อรุณจิตร; Somrudee Arunjit; ปิยะพร พรหมแก้ว; Piyaporn Promkaew; ดาลิมา สำแดงสาร; Dalima Samdaengsarn; วรนิภา กรุงแก้ว; Waranipa Krungkaew; ศิริวรรณ ชูกำเนิด; Siriwan Chukumnird; รุ่งนภา จันทรา; Rungnapa Chantra; บุบผา รักษานาม; Buppha Raksanam; จิราภรณ์ ชูวงศ์; Jiraporn Choowong; จงกรม ทองจันทร์; Jongkrom Thongjan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      สถานการณ์การระบาดของโรค COVID-19 ส่งผลกระทบต่อระบบการดูแลผู้สูงอายุโรคเบาหวานในมิติสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคตลอดจนการดูแลต่อเนื่อง การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสถานการณ์และผลลัพธ์ของระบบการดูแลผู้สูงอาย ...
    • ผู้ป่วยเบาหวานเท้าเป็นแผล ควรล้างเท้าด้วยน้ำร้อนฆ่าเชื้อโรคจริงหรือ 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-02)
      Infographic ข้อมูลจากโครงการวิจัย ภาระและระบบการดูแลโรคหลอดเลือดส่วนปลาย ต่อเนื่องปีที่ 3 (https://kb.hsri.or.th/dspace/handle/11228/4869) ให้ข้อมูลการดูแลเท้าที่ถูกต้องในผู้ป่วยเบาหวาน
    • น้ำตาลเพียงเท่านั้นหรือ ที่เป็นต้นเหตุเบาหวาน 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-02)
      Infographic ข้อมูลจากโครงการวิจัย อัตราการพัฒนาไปเป็นโรคเบาหวานและการศึกษาความสัมพันธ์เกี่ยวกับปัจจัยการนอนหลับและระดับกรดยูริคในเลือดกับระดับ HbA1c ในเลือดในผู้ที่มีภาวะ pre-diabetes (https://kb.hsri.or.th/dspace/handle ...
    • เบาหวาน + หลอดเลือดส่วนปลาย = ถูกตัดขา 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-02)
      Infographic ข้อมูลจากโครงการวิจัย ภาระและระบบการดูแลโรคหลอดเลือดส่วนปลาย (https://kb.hsri.or.th/dspace/handle/11228/4344) ให้ข้อมูล อาการของโรคหลอดเลือดส่วนปลาย บัญญัติ 10 ประการ ดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน
    • กินน้อยลง อดอาหาร ออกกำลังกาย ลดน้ำหนักจริงหรือ 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-02)
      Infographic ข้อมูลจากโครงการวิจัย ผลของการออกกำลังและการบริโภคอาหารต่อการเกิดโรคสมองเสื่อม โรคไตเรื้อรัง โรคเบาหวาน และโรคหัวใจและหลอดเลือดในประชากรไทยในจังหวัดอุบลราชธานี โครงการต่อเนื่อง ปีที่ 2 (https://kb.hsri.or.th/ ...
    • เบาหวาน รู้จัก รู้ทัน ป้องกันได้ 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-02)
      Infographic ข้อมูลจาก www.pobpad.com แสดงข้อมูลสาเหตุ ประเภท และการป้องกันโรคเบาหวาน
    • เบาหวานเสี่ยงไต ใครๆ ก็เป็นได้ พบ 1 ใน 3 น้อยกว่า 60 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-02-01)
      Infographic ข้อมูลจากงานวิจัย การประเมินผลการเข้าถึงบริการและการจัดบริการทดแทนไต ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพในประเทศไทย (https://kb.hsri.or.th/dspace/handle/11228/4009) ให้ข้อมูลเกี่ยวกับ สถิติข้อมูลผู้ป่วยโรคไต อาการของโรค ...
    • เบาหวาน โรคเรื้อรังรักษาไม่หาย เสี่ยงลุกลาม ตามมาด้วยสารพัดโรค 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-02)
      Infographic ข้อมูลจากงานวิจัยการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครั้งที่ 5 พ.ศ. 2557 (https://kb.hsri.or.th/dspace/handle/11228/4626) แสดงข้อมูลสถานการณ์ผู้ป่วยเบาหวาน
    • เบาหวาน เสี่ยงหลอดเลือดสมอง ตีบ ตัน แตก ตาย 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-12-01)
      Infographic ข้อมูลจากงานวิจัยการประเมินสมรรถนะระบบหลักประกันสุขภาพในการให้บริการผู้ป่วยโรคสมองขาดเลือด จากหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน : กรณีศึกษาโรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ (https://kb.hsri.or.th/dspace/handle/11228/4017) ...
    • เครื่องมือค้นหาผู้สัมผัสวัณโรค 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-08)
      โครงการพัฒนาคู่มือและเครื่องมือที่ช่วยเพิ่มความครอบคลุมในการค้นหาผู้สัมผัสวัณโรคและผลกระทบทางสังคมแก่ผู้ป่วยและผู้สัมผัสโรค หนึ่งในผลงานวิจัยของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ที่นำมาสู่การพัฒนาเป็นหลักสูตรการสื่อสารเพื ...
    • การควบคุม ป้องกันวัณโรค 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-08)
      การป้องกันวัณโรคที่ดีที่สุดคือ การตรวจหาและรักษาผู้ป่วยวัณโรคให้เร็วที่สุด การให้วัคซีนบีซีจีแก่เด็กทารกแรกเกิด ไม่สามารถป้องกันเด็กจากวัณโรคได้อย่างเด็ดขาด และควรป้องกันตนเองไม่ให้ติดเชื้อเอชไอวี เพราะจะทำให้มีโอกาสป่วย ...
    • รู้ เข้าใจวัณโรค 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-08)
      วัณโรคเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย ติดต่อทางลมหายใจจากคนสู่คน ด้วยการแพร่กระจายผ่านละอองเสมหะจากการไอ จาม พูดคุย แต่ไม่ติดต่อด้วยการกินอาหารหรือน้ำด้วยกัน แต่ควรใช้ช้อนกลางและแยกภาชนะกัน วัณโรคเกิดได้กับหลายส่วนของร่างกาย เช่น ...