แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การประเมินความยั่งยืนของกระบวนการสื่อสาร ทางสุขภาพเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

dc.contributor.authorสุทธิลักษณ์ สมิตะสิริen_US
dc.contributor.authorSuttilak Smitasirien_US
dc.contributor.authorธรา วิริยะพานิชen_US
dc.contributor.authorอรพินธ์ บรรจงen_US
dc.contributor.authorอทิตดา บุญประเดิมen_US
dc.contributor.authorจรณะ ทรัพย์สุวรรณen_US
dc.contributor.authorวันเพ็ญ รัศมีโสภาพรen_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:18:34Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:34:12Z
dc.date.available2008-12-04T05:18:34Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:34:12Z
dc.date.issued2539en_US
dc.identifier.otherhs0019en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1289en_US
dc.description.abstractการประเมินความยั่งยืนของกระบวนการสื่อสารทางสุขภาพเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมรายงานวิจัยนี้เพื่อติดตามความเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ดำเนินการ คือ อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษหลังจากโครงการส่งเสริมการบริโภคอาหารที่มีวิตามินเอสูง(ในช่วงปี 2531-2534 โดยสถาบันวิจัยโภชนาการ) โดยประเมินจากการบริโภคอาหารที่มีวิตามินเอสูง ระดับความรู้ ทัศนคติและพฤติกรรม และปัจจัยที่เอื้อ/ไม่เอื้อต่อความยั่งยืนของการเปลี่ยนแปลงที่ประสงค์ โดยอาศัยวิธีการทางด้านโภชนาการและด้านสังคมศาสตร์ทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ ประกอบกัน ผลของการวิจัยพบว่า กลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ดำเนินการของโครงการฯ ยังคงมีการพัฒนาการของการบริโภคอาหารที่มีวิตามินเอสูงอีกทั้งไขมัน ต่อเนื่องหลังจากโครงการสิ้นสุดลงไปแล้วเป็นเวลา 4 ปี โดยยังคงมีระดับความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมดีขึ้น หรือไม่แตกต่าง การพัฒนาในทางที่พึงประสงค์นี้คาดว่าเกิดจากยุทธศาสตร์ของโครงการฯ ซึ่งนำเสนอเงื่อนไขการเปลี่ยนแปลงที่กลุ่มเป้าหมายเชื่อว่าสามารถทำได้ และมีทรัพยากรที่จำเป็นในการเปลี่ยนแปลง อีกทั้งการดำเนินการในช่วงโครงการมีผลต่อกลุ่มเป้าหมายส่วนหนึ่ง ซึ่งมีพฤติกรรมต่อเนื่องถือเป็นตัวอย่างให้เห็นอยู่ในชุมชน และคาดว่ามีผลต่อการเพิ่มขึ้นของทั้ง Demand/Supply ของอาหารที่มีวิตามินเอสูงในพื้นที่นี้ ซึ่งถือได้ว่าเป็นความเข้มแข็งของระบบการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นหลัง การดำเนินโครงการ และพบว่ามีความอ่อนแอในระบบนี้ ซึ่งอาจเป็นผลต่อศักยภาพความยั่งยืนของโครงการที่สำคัญคือ ความเชื่อมโยงที่จะก่อให้เกิดการสนับสนุนอย่างต่อเนื่องจากหน่วยงานของรัฐ ในพื้นที่และชุมชนยังไม่ดีพออีกทั้งยังมีจุดอ่อนในการทำความเข้าใจกับกลุ่มเป้าหมายเพื่อให้เกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของในการเปลี่ยนแปลง การศึกษานี้ผู้วิจัยได้เสนอให้มีการดำเนินการเพิ่มเติมในพื้นที่ดังกล่าวโดย เน้นการลดจุดอ่อนและเสริมจุดแข็งของระบบได้แก่ การเสริมการดำเนินงานในองค์กรชุมชน เพื่อให้เกิดความเข้มแข็งของชุมชนในการเปลี่ยนแปลง และหารูปแบบของการสนับสนุนจากหน่วยงานของรัฐตามที่เหมาะสมen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectFood Habitsen_US
dc.subjectHealth Behavioren_US
dc.titleการประเมินความยั่งยืนของกระบวนการสื่อสาร ทางสุขภาพเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมen_US
dc.title.alternative[Evaluation of Communication Sustainability for Changing Health Behaviour]en_US
dc.identifier.callnoW85 ส244ป 2539en_US
dc.subject.keywordการประเมินen_US
dc.subject.keywordกระบวนการสื่อสารทางสุขภาพen_US
dc.subject.keywordพฤติกรรมen_US
.custom.citationสุทธิลักษณ์ สมิตะสิริ, Suttilak Smitasiri, ธรา วิริยะพานิช, อรพินธ์ บรรจง, อทิตดา บุญประเดิม, จรณะ ทรัพย์สุวรรณ and วันเพ็ญ รัศมีโสภาพร. "การประเมินความยั่งยืนของกระบวนการสื่อสาร ทางสุขภาพเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม." 2539. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1289">http://hdl.handle.net/11228/1289</a>.
.custom.total_download0
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year0
.custom.downloaded_fiscal_year0


ฉบับเต็ม

ไฟล์ขนาดรูปแบบดู

ขออภัย ไม่มีไฟล์ Full Text ติดต่อ 0 2027 9701 ต่อ 9038

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย