Show simple item record

Relationship between the self-efficacy and the controlling practices of over-weight middle-aged in Bandung district, Udon Thani province

dc.contributor.authorไพโรจน์ พัวพันธุ์en_US
dc.contributor.authorPairoj Puapunen_US
dc.contributor.authorเพลินจิต คันถรจนาจารย์en_US
dc.contributor.authorPlernjit Kantarotjanajanen_US
dc.coverage.spatialอุดรธานีen_US
dc.coverage.spatialUdon Thani provinceen_US
dc.date.accessioned2008-09-24T11:29:24Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T15:55:14Z
dc.date.available2008-09-24T11:29:24Zen_US
dc.date.available2557-04-16T15:55:14Z
dc.date.issued2551en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 2,2(เมย.-มิย. 2551) (ฉบับเสริม 5) : 1171-1183en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/139en_US
dc.description.abstractหญิงวัยกลางคนจำนวนมากประสบปัญหาทางด้านภาวะน้ำหนักตัวเกินแต่การควบคุมภาวะน้ำหนักตัวเกินให้ได้ผล จำเป็นต้องอาศัยพฤติกรรมในการดูแลตนเองที่ดี และการรับรู้สมรรถนะแห่งตนจะช่วยให้เกิดความเชื่อมั่นในความสามารถของตน ซึ่งอาจนำไปสู่การปฏิบัติตนที่เหมาะสมได้ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้สมรรถนะแห่งตนกับการปฏิบัติ เพื่อควบคุมภาวะน้ำหนักตัวเกินในหญิงวัยกลางคนที่มีอายุ 40-60 ปี ที่เข้ารับบริการในคลินิกหญิงวัยทองจำนวน 333 คน ใช้แบบสอบถามที่ประยุกต์จากแบบสอบถามของ รวิชา หงส์โรจนภาคย์ ที่มีความเที่ยงของเครื่องมือเท่ากับ 0.82 จากการศึกษาพบว่าการรับรู้สมรรถนะแห่งตน โดยรวมอยู่ในระดับสูง และด้านการบริโภคอาหารและการมีกิจกรรมทางกายอยู่ในระดับสูงเช่นกัน โดยมีความมั่นใจมากถึงมากที่สุดในการปฏิบัติในเรื่องการกินผักที่มีกาก (70.3%), การเดินในระยะทางสั้นๆ แทนการใช้พาหนะ (62.2%), การไม่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เพื่อคลายเครียด (60.7%) และการดื่มน้ำเปล่าแทนการดื่มน้ำหวานหรือน้ำอัดลม (59.5%). ในด้านการปฏิบัติพบว่าหญิงวัยกลางคนมีการปฏิบัติเพื่อควบคุมภาวะนำหนักตัวโดยรวมอยู่ในระดับสูง, มีการปฏิบัติด้านการบริโภคอาหาร และด้านการมีกิจกรรมทางกายอยู่ในระดับสูงและปฏิบัติบ่อยครั้งและเป็นประจำ, ไม่กินอาหารจานด่วน (72.1%), การกินอาหารผักที่มีกาก (70.9%), การเดินในระยะทางสั้นๆ แทนการใช้พาหนะ (64.6%), การงดกินอาหารประเภทขนมหวาน (64.3%) การไม่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (64.0%), การงดกินอาหารประเภทแป้ง (63.7%), และการใช้เวลาว่างทำกิจกรรมออกกำลัง (61.3%) พบว่าความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้สมรรถนะแห่งตนกับการปฏิบัติเพื่อควบคุมภาวะน้ำหนักเกินในภาพรวมมีระดับปานกลาง (ค่าสัมประสิทธ์ = 0.65) และมีความสัมพันธ์ระดับปานกลางกับการปฏิบัติตนในการควบคุมอาหารและด้านการมีกิจกรรมทางกาย (ค่าสัมประสิทธ์ = 0.60 และ 0.58 แต่พบว่าหญิงวัยกลางคนส่วนมาก ยังมีปัญหาในเรื่องการรับรู้สมรรถนะแห่งตนและการปฏิบัติในการหลีกเลี่ยงการบริโภคอาหารที่ให้พลังงานสูง และการไม่ออกกำลังกาย จึงทำให้หญิงกลางคนไม่สามารถควบคุมภาวะน้ำหนักของตัวเองได้ ซึ่งจำเป็นต้องมีการปรับปรุงกิจกรรมที่ส่งเสริมให้กระตุ้นให้เกิดความมั่นใจและสามารถปฏิบัติได้อย่างต่อเนื่องth_TH
dc.format.extent220871 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleความสัมพันธ์ของการรับรู้สมรรถนะแห่งตนกับการปฏิบัติเพื่อควบคุมภาวะน้ำหนักตัวเกินในหญิงวัยกลางคน อำเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานีen_US
dc.title.alternativeRelationship between the self-efficacy and the controlling practices of over-weight middle-aged in Bandung district, Udon Thani provinceen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeMany middle-aged women are facing problems with overweight, which is a risk factor for cardiovascular disease, diabetes mellitus and hypertension. Key determinants are physiological changes and food consumption and exercise. Controlling overweight requires appropriate self-care. Self-efficacy would help middle-aged women to have confidence that they are capable of appropriate practices. This study was aimed at identifying the relationships between self-efficacy and practices to control the weight of women aged 40-60 years. Three hundred and thirty-three middle-aged women who attended the Golden Age Clinic of the Bandung Crown Prince Hospital in Udon Thani Province were randomly recruited. Data were collected using a questionnaire on self efficacy and overweight controlling practices for middle-aged women. The questionnaire was modified from the questionnaire developed by Rawicha Hongrojchanpak, which used Cronbach alpha coefficient for the self-efficacy part at 0.82. The results indicated that the middle-aged women had high levels of overall selfefficacy. The self-efficacy of food consumption and exercise were also at high levels. Most of the middle-aged women (70.3%) had high to very high self-efficacy in eating fiber-rich vegetables, walking instead of using vehicles for short distances (62.2%), not drinking alcohol to relieve stress (60.7%) and drinking water rather than sweet soda (59.5%). Their overall practices for controlling overweight were at a high level. They usually and often did not eat fast food (72.1%), walked instead of using vehicles for short distances (64.6%), avoided eating sweets (64.3%), did not drink alcohol (64.0%), avoided eating carbohydrates (63.7%) and did exercises during their free time (61.3%). The self-efficacy of these middle-aged women had a moderate relationship with overall overweight practices with regard to food consumption behavior and exercise (r= 0.65, r=0.60 and r=0.58 respectively). However, most of the middle-aged women had problems concerning self-efficacy and overweight controlling practices in avoiding highcalorie foods, and seldom exercising, which resulted in their inability to control their weight. It is essential to modify health promotion activities which emphasize self-efficacy and continuity of appropriate overweight controlling practices among midldle-aged women.en_US
dc.subject.keywordภาวะน้ำหนักตัวเกินen_US
dc.subject.keywordหญิงวัยกลางคนen_US
dc.subject.keywordการรับรู้สมรรถนะแห่งตนen_US
dc.subject.keywordOverweighten_US
dc.subject.keywordMiddle-aged womenen_US
dc.subject.keywordSelf-efficacy Practicesen_US
.custom.citationไพโรจน์ พัวพันธุ์, Pairoj Puapun, เพลินจิต คันถรจนาจารย์ and Plernjit Kantarotjanajan. "ความสัมพันธ์ของการรับรู้สมรรถนะแห่งตนกับการปฏิบัติเพื่อควบคุมภาวะน้ำหนักตัวเกินในหญิงวัยกลางคน อำเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี." 2551. <a href="http://hdl.handle.net/11228/139">http://hdl.handle.net/11228/139</a>.
.custom.total_download725
.custom.downloaded_today1
.custom.downloaded_this_month13
.custom.downloaded_this_year91
.custom.downloaded_fiscal_year20

Fulltext
Icon
Name: hsri-journal-v2n2 ...
Size: 220.3Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

Show simple item record