แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การพัฒนาระบบเครือข่ายการเฝ้าระวังการติดเชื้อแผลผ่าตัดในโรงพยาบาลในเขตภาคใต้ ของประเทศไทย

dc.contributor.authorนงเยาว์ เกษตร์ภิบาลth_TH
dc.contributor.authorNongyao Kasatpibalen_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:19:37Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:14:52Z
dc.date.available2008-12-04T05:19:37Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:14:52Z
dc.date.issued2549en_US
dc.identifier.otherhs1294en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1443en_US
dc.description.abstractการเฝ้าระวังการติดเชื้อที่ตําแหน่งผ่าตัดของประเทศไทยในปัจจุบัน มีความแตกต่างกันอย่างมาก ทําให้ข้อมูลไม่สามารถนํามาเปรียบเทียบกันได้ การพัฒนาระบบเครือข่ายการเฝ้าระวังการติดเชื้อตําแหน่งผ่าตัดเป็นวิธีการสําคัญในการพัฒนามาตรฐานการเฝ้าระวังเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลที่มีคุณภาพ และนําไปใช้ประโยชน์ได้อย่างกว้างขวาง การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนามาตรฐาน ประเมินระบบและสร้างเครือข่ายการเฝ้าระวังการติดเชื้อตําแหน่งผ่าตัดในโรงพยาบาล 13 แห่ง ในเขตภาคใต้ของประเทศไทย เก็บข้อมูลโดยสัมภาษณ์พยาบาลควบคุมการติดเชื้อและเฝ้าระวังการติดเชื้อที่ตําแหน่งผ่าตัดแบบไปข้างหน้า โดยใช้วิธีการและเกณฑ์การวินิจฉัยการติดเชื้อตําแหน่งผ่าตัดของศูนย์ควบคุมโรคสหรัฐอเมริกาคํานวณอัตราการติดเชื้อโดยปรับตามดัชนีความเสี่ยงและเปรียบเทียบกับสหรัฐอเมริกาโดยรายงานเป็นค่า Standardized Infection Ratio (SIR) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม STATA version 7 การศึกษาครั้งนี้พบว่าการพัฒนาการเฝ้าระวังการติดเชื้อตําแหน่งผ่าตัดให้มีมาตรฐานเดียวกัน ทําให้นําข้อมูลจากโรงพยาบาลต่างๆ มารวมกันได้สามารถเปรียบเทียบอัตราการติดเชื้อระหว่างโรงพยาบาลได้ ส่งผลให้มีอัตราการติดเชื้อตําแหน่งผ่าตัดที่เป็นมาตรฐานสําหรับใช้ในการเปรียบเทียบ ได้ฐานข้อมูลขนาดใหญ่ที่น่าเชื่อถือ นําข้อมูลไปใช้ประโยชน์ได้มากขึ้น นําไปสู่การพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วย จนทําให้อัตราการติดเชื้อลดลง การมีเครือข่ายการเฝ้าระวังก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างโรงพยาบาล สามารถนําความรู้และประสบการณ์ที่ได้ไปพัฒนาระบบการเฝ้าระวังการติดเชื้อตําแหน่งผ่าตัด นอกจากนี้พบว่าโรงพยาบาลทั้ง 11 แห่ง ยังคงดําเนินการเฝ้าระวังการติดเชื้อตําแหน่งผ่าตัดในรูปแบบที่พัฒนาขึ้นต่อไป องค์ประกอบสําคัญในการคงไว้ซึ่งระบบและเครือข่ายการเฝ้าระวังการติดเชื้อตําแหน่งผ่าตัดที่พัฒนาคือได้รับการสนับสนุนจากผู้บริหาร มีพยาบาลควบคุมการติดเชื้อเพียงพอ ได้รับความร่วมมือจากทีมดูแลผู้ป่วยศัลยกรรมและผู้ที่เกี่ยวข้อง มีทรัพยากรสนับสนุนและงบประมาณเพียงพอ ปัญหาอุปสรรคสําคัญในการคงไว้ซึ่งระบบคือ ไม่ได้รับการสนับสนุนจากผู้บริหาร ไม่ได้รับความร่วมมือจากผู้ที่เกี่ยวข้องพยาบาลควบคุมการติดเชื้อไม่เพียงพอและขาดบุคลากรที่ช่วยในการบันทึกข้อมูลในคอมพิวเตอร์ ข้อเสนอแนะคือทําผลงานให้เป็นที่ประจักษ์ ประสานความร่วมมือกับผู้ที่เกี่ยวข้องและจัดหาพยาบาลควบคุมการติดเชื้อและบุคลากรให้เพียงพอ สรุปว่าการพัฒนาระบบเครือข่ายการเฝ้าระวังการติดเชื้อตําแหน่งผ่าตัดเป็นการพัฒนาเชิงระบบให้ได้มาซึ่งการเฝ้าระวังการติดเชื้อตําแหน่งผ่าตัดที่มีมาตรฐาน ได้อัตราการติดเชื้อมาตรฐานสําหรับใช้ในการเปรียบเทียบและนําไปสู่การพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent3490662 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectHealth Prevention and Controlen_US
dc.subjectSurgical Wound Infectionen_US
dc.subjectInfectionen_US
dc.subjectการป้องกันและควบคุมโรคen_US
dc.subjectการติดเชื้อen_US
dc.subjectการบริการสุขภาพ (Health Service Delivery)th_TH
dc.titleการพัฒนาระบบเครือข่ายการเฝ้าระวังการติดเชื้อแผลผ่าตัดในโรงพยาบาลในเขตภาคใต้ ของประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeThe development of surgical site nosocomial infection surveillance network in southern Thailanden_US
dc.identifier.callnoWO185 น146ก 2549en_US
dc.identifier.contactno47ค022en_US
dc.subject.keywordNosocomial Infectionen_US
dc.subject.keywordการติดเชื้อแผลผ่าตัดen_US
.custom.citationนงเยาว์ เกษตร์ภิบาล and Nongyao Kasatpibal. "การพัฒนาระบบเครือข่ายการเฝ้าระวังการติดเชื้อแผลผ่าตัดในโรงพยาบาลในเขตภาคใต้ ของประเทศไทย." 2549. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1443">http://hdl.handle.net/11228/1443</a>.
.custom.total_download171
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month2
.custom.downloaded_this_year24
.custom.downloaded_fiscal_year5

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs1294.pdf
ขนาด: 2.595Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย