Health and safety of workforce manangement in small industries in Rural areas : a case study of wooden furniture factories in Loei province
dc.contributor.author | วิชัย ผลิตนนท์เกียรติ | en_US |
dc.contributor.author | Vichai Palitnondakiat | en_US |
dc.contributor.author | เสกสรร อรรควาไสย์ | en_US |
dc.contributor.author | Seksan Akkawasai | en_US |
dc.coverage.spatial | เลย | en_US |
dc.coverage.spatial | Loei province | en_US |
dc.date.accessioned | 2008-09-24T11:49:55Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-16T15:56:52Z | |
dc.date.available | 2008-09-24T11:49:55Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-16T15:56:52Z | |
dc.date.issued | 2551 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 2,2(เมย.-มิย. 2551) (ฉบับเสริม 5) : 1295-1304 | en_US |
dc.identifier.issn | 0858-9437 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/152 | en_US |
dc.description.abstract | การประกอบกิจการอุตสาหกรรมขนาดเล็กในพื้นที่ชนบทมีปัญหาและข้อจำกัดในการเข้าถึงบริการส่งเสริมสุขภาพของรัฐค่อนข้างมาก ประกอบกับมีการนำอุปกรณ์และสารเคมีที่มีความไม่ปลอดภัยสูงมาใช้ในกระบวนการผลิตเป็นจำนวนมาก การศึกษานี้ศึกษาเฉพาะกรณีโรงงานเฟอร์นิเจอร์ไม้ในจังหวัดเลยที่มีแนวโน้มการขยายตัวอย่างรวดเร็ว โดยวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพ ด้วยการสังเกตแบบมีส่วนร่วม การสัมภาษณ์เจาะลึก การสนทนากลุ่ม แบบสัมภาษณ์ และวิธีการศึกษาเชิงปริมาณ โดยการวิเคราะห์ข้อมูลเอกสารประกอบ ผลการศึกษาแสดงถึงกระบวนการผลิตโดยเฉพาะการปฏิบัติงานท่ามกลางเสียงดังโดยขาดอุปกรณ์ป้องกัน สภาพแวดล้อมของการทำงานในภาวะที่เสี่ยงต่อมลพิษทั้งฝุ่น ควันและเสียงดัง นอกจากผลต่อสุขภาพของคนงานโดยตรง ยังส่งผลกระทบขยายไปสู่สุขภาพของครอบครัวและชุมชนด้วย ผู้วิจัยเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาสำหรับกรณีดังกล่าวนี้เน้นที่การจัดการระดับพื้นที่ โดยโรงพยาบาลชุมชนในฐานะหน่วยการรักษาปฐมภูมิและให้องค์การบริหารส่วนตำบลมีบทบาทนำในการประสานงาน สนับสนุนงบประมาณแก่หน่วยภาคีที่เกี่ยวข้องเพื่อสะท้อนข้อมูลแก่ชุมชนและเสนอแนะให้มีการออกนโยบายสาธารณะเพื่อสร้างสุขภาพดี เพื่อควบคุมปัจจัยเสี่ยงจากการทำงานให้เป็นแนวทางแก่ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งหมด และต้องมีการปรับปรุงระบบวินิจฉัยของสถานบริการในการคัดกรองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมให้ง่ายต่อการปฏิบัติ ดำเนินการเรื่องการเฝ้าระวังโรคอย่างแข็งขัน และจัดให้มีการศึกษาวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ของปัจจัยการเกิดโรคอย่างเป็นระบบต่อไป | th_TH |
dc.format.extent | 180082 bytes | en_US |
dc.format.mimetype | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.title | การจัดการความเสี่ยงด้านสุขภาพและความปลอดภัยของแรงงานจากอุตสาหกรรมขนาดเล้กในชนบท กรณีศึกษาโรงงานเฟอร์นิเจอร์ไม้ | en_US |
dc.title.alternative | Health and safety of workforce manangement in small industries in Rural areas : a case study of wooden furniture factories in Loei province | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dc.description.abstractalternative | Workers in small industries in rural areas work under unhealthy and poor environmental conditions because of the limitation of local health services. In addition, unsafe equipment and chemicals are commonly used in the manufacturing process. This study explored the working processes in wooden furniture factories in Loei Province after the workers had received information about the health and safety of workers, and about the health and environmental risks in surrounding communities affected by these small industries. This study employed both qualitative methods, including participation observation, in-depth interviews, group discussions and questionnaire interviews, as well as quantitative methods, such as secondary data analysis from existing documents. The results of the study showed that the manufacturing processes of these kinds of factories might be directly harmful to the health and safety of the workers. Poor working conditions, for example, dust, smoke and noise pollution, might not only affect the health and safety of these workers but also afftect the health of their family members and communities. Community hospitals and tambon administrations should be major stakeholders in managing theses occupational health problems by launching a “healthy public” policy and providing all sectors with guidance, including that on the manufacturers, workers, and health centers or primary care units. Moreover, management at the national policy level should be implemented by providing a simplified version of the diagnosing process of diseases related to occupational health, strengthening occupational health surveillance in local settings and initiating prospective cohort studies to identify specific determinants of local occupational diseases. | en_US |
dc.subject.keyword | อุตสาหกรรมขนาดเล็ก | en_US |
dc.subject.keyword | ความเสี่ยงสุขภาพ | en_US |
dc.subject.keyword | ความปลอดภัย | en_US |
dc.subject.keyword | อาชีวอนามัย | en_US |
dc.subject.keyword | Small Industries | en_US |
dc.subject.keyword | Health Risk | en_US |
dc.subject.keyword | Occupational Health | en_US |
dc.subject.keyword | Safety Impact | en_US |
.custom.citation | วิชัย ผลิตนนท์เกียรติ, Vichai Palitnondakiat, เสกสรร อรรควาไสย์ and Seksan Akkawasai. "การจัดการความเสี่ยงด้านสุขภาพและความปลอดภัยของแรงงานจากอุตสาหกรรมขนาดเล้กในชนบท กรณีศึกษาโรงงานเฟอร์นิเจอร์ไม้." 2551. <a href="http://hdl.handle.net/11228/152">http://hdl.handle.net/11228/152</a>. | |
.custom.total_download | 1033 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 24 | |
.custom.downloaded_this_year | 186 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 33 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
Fulltext
This item appears in the following Collection(s)
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ