• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
ดูรายการ 
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Research Reports
  • ดูรายการ
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Research Reports
  • ดูรายการ
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

ความเป็นธรรมทางสุขภาพในฐานะสิทธิมนุษยชนของชาวเขาไร้สัญชาติในประเทศไทย

บุญมา สุนทราวิรัตน์; Boonma Sunthrawirat;
วันที่: 2551
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้เป็นการวิจัยและพัฒนาด้วยวิธีผสมผสานทั้งปริมาณและคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินเปรียบเทียบระดับความเป็นธรรมทางสุขภาพของกลุ่มชน 3 กลุ่มโดยใช้กลุ่มตัวอย่างเชิงปริมาณจํานวน 789 คน ใน 10 จังหวัดภาคเหนือ ประยุกต์ใช้เครื่องมือประเมินความเป็นธรรมทางสุขภาพ วิเคราะห์ความแปรปรวน ทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธีการของ Tukey วิเคราะห์ความเป็นธรรมทางสุขภาพด้วย Z-score เติมส่วนขาดด้วยข้อมูลเชิงคุณภาพจากการสัมภาษณ์เชิงลึกและการสนทนากลุ่มแล้วเสนอข้อมูลแก่ผู้เชี่ยวชาญเพื่อหาฉันทามติร่วมในการจัดทําข้อเสนอเชิงนโยบายในการลดช่องว่างความเป็นธรรมทางสุขภาพ ผลการศึกษาพบว่า มีความแตกต่างอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติใน 7 กลุ่ม(P-Value<.001)โดยประสิทธิภาพและคุณภาพบริการ (P-Value =.170) กับประสิทธิภาพการบริหารจัดการ (P-Value=.227) มีความแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสําคัญทางสถิติและพบว่าค่าความเป็นธรรมทางสุขภาพของคนไทยพื้นราบมีค่าที่สูงสุด (Z = .3293) รองลงมาคือชาวเขาสัญชาติไทย (Z=.0516) และชาวเขาไร้สัญชาติ (Z=-.3885) ตามลําดับ แนวทางการลดช่องว่างความเป็นธรรมทางสุขภาพของกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ เสนอให้มีระบบฐานข้อมูลกลุ่มชาวเขาไร้สัญชาติ,การจัดสรรงบประมาณรายหัวกลุ่มไร้สัญชาติ, คุณภาพมาตรฐานของสถานบริการสาธารณสุข และการกระจายอํานาจด้านบริการสุขภาพสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น Research was conducted to compare health equity levels between three groups. These groups were compared using the benchmark of fairness. The multistage cluster sampling methods were used. The sample size for quantitative study included 789 subjects on 10 provinces in the north of Thailand and was strengthened by a qualitative component in the form of in-depth interviews. Data analysis utilized ANOVA and Post-hoc Tukey means. The counters for health equity were analyzed by Z-scores. Results revealed a significance difference on 7 of the 9 factors (all at p<.001). Comparative measurements on Efficiency and Quality of Care (p=.170) as well as Administrative efficiency (p=.227) were not significant. With regards to Z score analysis Thai National Citizens were the highest scored (Z = .3293), Hill tribe Thai national citizens were average scored (Z=.0516) and Hill tribe stateless were the lowest scored (Z=-.3885). The means to reduce the gap between groups from the expertise aimed 1) The Hill tribe stateless data base. 2) The health needs budgetary for The Hill tribe stateless. 3) The only one standard in all health care units. 4) The decentralization to local government for provides health services.
Copyright ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์
ฉบับเต็ม
Thumbnail
ชื่อ: hs1387.pdf
ขนาด: 2.156Mb
รูปแบบ: PDF
ดาวน์โหลด

คู่มือการใช้งาน
(* หากไม่สามารถดาวน์โหลดได้)

จำนวนดาวน์โหลด:
วันนี้: 0
เดือนนี้: 0
ปีงบประมาณนี้: 0
ปีพุทธศักราชนี้: 0
รวมทั้งหมด: 137
 

 
 


 
 
แสดงรายการชิ้นงานแบบเต็ม
คอลเล็คชั่น
  • Research Reports [2469]

    งานวิจัย


DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
Theme by 
Atmire NV
 

 

เลือกตามประเภท (Browse)

ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)ประเภททรัพยากรนี้ปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [619]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [99]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [125]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [158]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1281]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [228]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [20]

DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
Theme by 
Atmire NV