Show simple item record

Unit Cost of Public Health Centres

dc.contributor.authorวิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียรen_US
dc.contributor.authorViroj Tangchroensathienen_US
dc.contributor.authorสุกัลยา คงสวัสดิ์en_US
dc.contributor.authorสนธยา รุ่งกิจการวัฒนาen_US
dc.contributor.authorประภาพรรณ คำคมen_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:23:30Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:47:48Z
dc.date.available2008-12-04T05:23:30Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:47:48Z
dc.date.issued2538en_US
dc.identifier.otherhs0121en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1963en_US
dc.description.abstractต้นทุนต่อหน่วยบริการศูนย์บริการสาธารณสุข รายงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ วิเคราะห์และประมาณต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรมศูนย์บริการ สาธารณสุขทุกแห่งในกรุงเทพมหานครจำนวน 60 แห่ง สังกัดสำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร โดยใช้ข้อมูลทางการเงินในปีงบประมาณ พ.ศ.2537 ในการศึกษานี้ต้นทุนหมายถึง ต้นทุนการดำเนินการได้แก่ ค่าแรงและค่าวัสดุ โดยที่ไม่นำเอาค่าเสื่อมราคาของคุรุภัณฑ์และสิ่งก่อสร้างมารวมด้วย วิธีการศึกษาประกอบไปด้วยการวิเคราะห์ระบบข้อมูลทางการเงินของศูนย์บริการสาธารณสุขและกองต่างๆที่สนับสนุนการจัดบริการในสำนักอนามัย การเก็บข้อมูลต้นทุนค่าแรงทั้งโดยตรงและโดยอ้อม การเก็บข้อมูลต้นทุนค่าวัสดุโดยตรงและโดยอ้อม ศึกษาการใช้เวลาของบุคลากรทุกประเภทในศูนย์ฯตัวอย่าง 6 แห่ง การศึกษานี้ผู้วิจัยใช้วิธีการประมาณการต้นทุนไปยังกิจกรรมโดยตรง(direct allocation) โดยไม่ได้ตั้งหน่วยต้นทุน (cost centre approach) การประมาณการต้นทุนต่อหน่วยมีขั้นตอนสำคัญ และอาศัยเกณฑ์ในการกระจายต้นทุนดังต่อไปนี้คือค่าแรงตรงใช้ร้อยละการใช้เวลาสำหรับกิจกรรมต่างๆของบุคลากรประเภทต่างๆสำหรับทั้ง 29 กิจกรรมของศูนย์บริการสาธารณสุข เป็นเกณฑ์ในการจัดสรรต้นทุนค่าแรงตรงของบุคลากรแต่ละประเภทไปยังกิจกรรมนั้นๆ ทั้งนี้ยังแยกรายละเอียดเป็นเกณฑ์ 4 แบบ เพื่อให้เหมาะสมกับศูนย์ที่ให้บริการแตกต่างกัน กล่าวคือ ศูนย์ฯที่มีหรือไม่มีบริการเลี้ยงเด็กกลางวัน และบำบัดยาเสพติดอาศัยผลการจัดสรรค่าแรงตรงไปสู่กิจกรรมทั้ง 29 กิจกรรมในแต่ละศูนย์นั้น เป็นเกณฑ์ในการกระจายต้นทุนค่าแรงอ้อม ซึ่งเป็นค่าแรงที่มาจากกองต่างๆในสำนักอนามัย ซึ่งรับผิดชอบแผนงานโครงการที่สนับสนุนการปฏิบัติงานของศูนย์บริการสาธารณสุขอาศัยเกณฑ์ต่างๆที่เหมาะสมในการจัดสรรต้นทุนค่าวัสดุตรงของศูนย์บริการสาธารณสุข และวัสดุอ้อมซึ่งมาจากกองต่างๆในสำนักอนามัยซึ่งสนับสนุนการปฏิบัติงานของศูนย์บริการสาธารณสุข เมื่อได้ต้นทุนค่าแรงตรง ต้นทุนค่าแรงอ้อม และต้นทุนค่าวัสดุ รายกิจกรรมของแต่ละศูนย์ฯแล้ว จึงได้นำมารวมกันและหารด้วยปริมาณบริการ จำได้ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรมรายศูนย์ฯen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent9275025 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectการประเมินผลศูนย์บริการสาธารณสุขen_US
dc.subjectเศรษฐศาสตร์สาธารณสุขen_US
dc.subjectต้นทุนen_US
dc.subjectศูนย์บริการสาธารณสุขen_US
dc.subjectต้นทุนต่อหน่วยบริการen_US
dc.titleต้นทุนต่อหน่วยบริการศูนย์บริการสาธารณสุขen_US
dc.title.alternativeUnit Cost of Public Health Centresen_US
dc.identifier.callnoW84 ว237ร 2538en_US
.custom.citationวิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร, Viroj Tangchroensathien, สุกัลยา คงสวัสดิ์, สนธยา รุ่งกิจการวัฒนา and ประภาพรรณ คำคม. "ต้นทุนต่อหน่วยบริการศูนย์บริการสาธารณสุข." 2538. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1963">http://hdl.handle.net/11228/1963</a>.
.custom.total_download225
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year0
.custom.downloaded_fiscal_year5

Fulltext
Icon
Name: hs0121.PDF
Size: 9.351Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record