Collections in Health Systems Research Institute

Recent Submissions

  • ถอดบทเรียนการจัดการแข่งขันกีฬานานาชาติในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 

    ปรีชาพล ปึ้งผลพูล; Preechapol Puengpholpool; ไอรินลดา วิศิษฎ์พรกุล; Irinlada Wisitphonkul; ณัฐทิชา หงษ์สามสิบหก; Natticha Hongsamsibhok; อนุวัฒน์ รัสมะโน; Anuwat Ratsamano; ปัทมาภรณ์ เครือหงษ์; Patthamaporn Khruahong; จริยา ดาหนองเป็ด; Chariya Danongped; นันนภัส กันตพัตชญานนท์; Nannaphat Kantaphatchayanon; ธีรพล ใจกล้า; Theerapon Jaikla; สุภนุช ทรงเจริญ; Supanuch Shongcharoen; จักรกฤษณ์ ปานแก้ว; Jakkit Pankaew; จันทร์จิรา เสนาพรม; Junjira Sanaprom (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
    การถอดบทเรียนครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการดำเนินงานด้วยวิธีการทบทวนเอกสารและศึกษาประสบการณ์ดำเนินงานจากเรื่องเล่าของผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานจากหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนที่เต็มใจให้ข้อมูล จำนวน 50 คน ผ่านการสัม ...
  • พฤติกรรมสุขภาพกับปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ในสามกลุ่มวัยของประชากรไทย ระหว่างการระบาดของโควิด-19 

    คนึงนิจ เยื่อใย; Khanuengnij Yueayai; โศภิต นาสืบ; Sopit Nasueb; อรทัย วลีวงศ์; Orratai Waleewong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
    ภูมิหลังและเหตุผล: มาตรการป้องกันและควบคุมโควิด-19 ส่งผลกระทบต่อประชาชน ทำให้มีภาวะเครียด มีพฤติกรรมในการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และสูบบุหรี่มากขึ้น มีกิจกรรมทางกายลดน้อยลงหรือมีพฤติกรรมเนือยนิ่งเพิ่มขึ้น ทั้งนี้อายุเป็น ...
  • รูปแบบการดูแลทางไกลด้วยระบบแยกกักตัวที่บ้านในมิติกำลังคนด้านสุขภาพในเขตสุขภาพที่ 12 ของไทย 

    วรัญญา จิตรบรรทัด; Waranya Jitbantad; ภัทรธิดา ฟองงาม; Pattaratida Fong-ngam; ขัตติยา เสมอภพ; Khattiya Samerpop; ไมซาเร๊าะ ขุนรักษ์ หมานระเด็น; Maisaroh Khunrak Manraden; ฮัสสัน จิตรบรรทัด; Hassan Jitbantad (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
    จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ที่ส่งผลให้อัตรากำลังด้านสุขภาพไม่เพียงพอต่อการดูแลผู้ติดเชื้อ ก่อให้เกิดรูปแบบการดูแลแบบแยกกักตัวที่บ้านขึ้น และมีกลุ่มจิตอาสาด้านสุขภาพช่วยดูแลโดยใช้รูปแบบการดูแลทางไกล การวิจัยเชิงค ...
  • บทบาทของเครือข่ายปฐมภูมิในการคัดกรองและเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงโควิด-19 ใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ 

    วิไล อุดมพิทยาสรรพ์; Wilai Udompittayason; ปรียนุช ชัยกองเกียรติ; Preeyanuch Chaikongkiat; ดวงใจ เปลี่ยนบำรุง; Doungjai Plianbumroong; อัจฉรา มุสิกวัณณ์; Atchara Musigawan; ผุสนีย์ แก้วมณีย์; Pootsanee Kaewmanee; เขมพัทธ์ ขจรกิตติยา; Khemmapat Kajonkittiya; พิชญ์ชญานิษฐ์ เรืองเริงกุลฤทธิ์; Pichayanit Ruangroengkulrit; นุศรา ดาวโรจน์; Nutsara Dowrote; อนุชิต คลังมั่น; Anuchit Klangman; คอลิด ครุนันท์; Kholid Karunan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
    การศึกษาวิจัยแบบผสมผสาน (mixed methods research) โดยใช้รูปแบบความสอดคล้องคู่ขนาน (convergent parallel design) เก็บข้อมูลการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพในพื้นที่จังหวัดยะลา ปัตตานีและนราธิวาส วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทขอ ...
  • การพัฒนาสมรรถนะที่จำเป็นของพยาบาลในภาวะที่มีการระบาดของ COVID-19: กรณีศึกษาจังหวัดสงขลา 

    ศิริวรรณ ชูกำเนิด; Siriwan Chukumnird; ศักรินทร์ สุวรรณเวหา; Sakkarin Suwanwaha; ผาณิต หลีเจริญ; Phanit Leecharoen; จารุณี วาระหัส; Jarunee Warahut; อภิสิทธิ์ เชื้อคำเพ็ง; Apisit Chuakompeng; นัยนันต์ เตชะวณิช; Naiyanan Tejavanija; ดารารัตน์ ดำรงกุลชาติ; Dararat Dumrongkullachart (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
    การวิจัยปฏิบัติการเชิงวิพากษ์ (emancipatory action research) ร่วมกับกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (action research) ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาสมรรถนะที่จำเป็นของพยาบาลวิชาชีพด้านการพยาบาลผู้ป่วย COVID-19 ...
  • การบริหารจัดการกำลังคนด้านการพยาบาลและสมรรถนะของพยาบาลเพื่อตอบสนองภาวะวิกฤตโควิด-19 ในระบบบริการทุติยภูมิและตติยภูมิ เขตสุขภาพที่ 10 

    จรูญศรี มีหนองหว้า; Jaroonsree Meenongwah; สาดี แฮมิลตัน; Sadee Hamilton; ปัทมา ผ่องศิริ; Pattama Phongsiri; สุเพียร โภคทิพย์; Supian Pokathip; เอมอร บุตรอุดม; Aimon Butudom; พนัชญา ขันติจิตร; Phanatchaya Khantichitr; อรดี โชคสวัสดิ์; Oradee Choksawat; รัตนา บุญพา; Rattana Boonpha; เชาวลิต ศรีเสริม; Chaowalit Srisoem; ปัฐมาพร ใจกล้า; Pattamaporn Jaikla; วิโรจน์ เซมรัมย์; Wirote Semrum (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
    ผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ที่เพิ่มมากขึ้นทำให้บุคลากรสาธารณสุขในโรงพยาบาลต้องมีภาระงานเพิ่มขึ้นมาก โดยเฉพาะวิชาชีพพยาบาลที่มีบทบาทสำคัญในการดูแลผู้ป่วยโดยตรง ทำให้ต้องมีการบริหารอัตรากำลังด้านการพยาบา ...
  • บทเรียนการจัดระบบบริการตติยภูมิในภาวะวิกฤติโควิด-19 พื้นที่ 4 จังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 

    ศิราณี อิ่มน้ำขาว; Siranee Imnamkhao; ภรรวษา จันทศิลป์; Bhanwasa Jantasin; ชัญญาวีร์ ไชยวงศ์; Chanyawee Chaiwong; ทรงสุดา หมื่นไธสง; Songsuda Muenthaisong; จงลักษณ์ ทวีแก้ว; Chonglak Taveekaew; ณัฐวุฒิ สุริยะ; Natthawut Suriya; วรนาถ พรหมศวร; Woranart Promsuan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
    การวิจัยผสานวิธีครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา บทเรียนการจัดระบบบริการตติยภูมิในภาวะวิกฤติโควิด-19 พื้นที่ 4 จังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ใช้กรอบ health-care capacity and utilization และ six building blocks ...
  • ปัจจัยที่ส่งผลต่อความพึงพอใจต่อการจ้างงานของผู้ช่วยเหลือดูแลผู้มีภาวะพึ่งพิงในประเทศไทย 

    ภัทรพร คงบุญ; Pattaraporn Khongboon; สุวิณี วิวัฒน์วานิช; Suvinee Wivatvanit; ชาตินัย หวานวาจา; Chatinai Wanwacha; จิราพร เกศพิชญวัฒนา; Jiraporn Kespichayawattana (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
    การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อการจ้างงานของผู้ช่วยเหลือดูแลผู้มีภาวะพึ่งพิงระยะยาวในชุมชน ผ่านหน่วยบริการ/ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ/องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) และปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจใ ...
  • การศึกษาความเป็นไปได้ทางการเงินของโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพของสถานพยาบาลโดยปรับใช้กรอบการประเมิน RE-AIM 

    อุทุมพร วงษ์ศิลป์; Utoomporn Wongsin; ขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทย; Kwanpracha Chiangchaisakulthai; วาริสา ทรัพย์ประดิษฐ; Warisa Suppradist; นำพร สามิภักดิ์; Numporn Samiphuk; ดิชพงศ์ พงศ์ภัทรชัย; Dichapong Pongpattrachai; อาณัติ วรรณศรี; Arnat Wannasri; จิราลักษณ์ นนทารักษ์; Jiraluck Nontarak; เฉิน, ตั้ว-ยู; Chen, Tuo-Yu (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
    กลุ่มโรคไม่ติดต่อ (non-communicable diseases, NCDs) นับว่าเป็นปัญหาหลักด้านสุขภาพทั่วโลก การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพของสถานพยาบาล (wellness center) โดยปรับใช้กรอบการประเมิน RE-AIM (reach, ...
  • ผลของการสนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาองค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพ ในสถานบริการสุขภาพภาครัฐ ในปฏิบัติการ สาสุข อุ่นใจ 

    สายชล คล้อยเอี่ยม; Saichon Kloyiam; กมลวรรณ สุขประเสริฐ; Kamonwan Sukprasert; ภารุจีร์ เจริญเผ่า; Parujee Charoenphao; ฐานิตา คุณารักษ์; Thanita Kunarak; กันยา เค้นา; Kanya Kena (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
    การเป็นองค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพช่วยให้สถานบริการสุขภาพภาครัฐพัฒนาคุณภาพการบริการสุขภาพได้ดีขึ้น มีประสิทธิภาพมากขึ้น และมีผลโดยตรงต่อผู้ใช้บริการ สถาบันการแพทย์ของสหรัฐอเมริกา ให้คำนิยามแก่องค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพว่า ...
  • สมรรถนะทางวัฒนธรรมของเภสัชกรโรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 

    อัฐกฤตย์ อุ่นแก้ว; Auttakrit Aunkaew; พักตร์วิภา สุวรรณพรหม; Puckwipa Suwannaprom; ศิริตรี สุทธจิตต์; Siritree Suttajit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
    วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาสถานการณ์ของสมรรถนะทางวัฒนธรรมของเภสัชกรโรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขในประเทศไทย เพื่อเป็นข้อมูลสำหรับการวางแผนพัฒนาศักยภาพในมิติทางวัฒนธรรมแก่เภสัชกรไทยต่อไป วิธีการ: การศึกษาเชิงพร ...
  • การจัดบริการสุขภาพปฐมภูมิยุคนโยบายสามหมอในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย 

    เพ็ญนภา ศรีหริ่ง; Pennapa Sriring; ฉวีวรรณ ศรีดาวเรือง; Chaweewan Sridawruang; เตือนใจ ภูสระแก้ว; Thuanjai Poosakaew; พิทยา ศรีเมือง; Phitthaya Srimuang; รุจิราลักขณ์ พรหมเมือง; Ruchiralak Prommueang; ไพฑูรย์ พรหมเทศ; Paitoon Promthet; รัตน์ดาวรรณ คลังกลาง; Ratdawan Klungklang; ปณิตา ครองยุทธ; Panita Krongyuth; รุจี จารุภาชน์; Rujee Charupash (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
    ประชาชนไทยได้รับบริการสุขภาพปฐมภูมิแบบองค์รวมมาอย่างต่อเนื่อง การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อประเมินสถานการณ์บริการสุขภาพปฐมภูมิและระบุปัจจัยที่มีผลต่อการจัดบริการตามระบบสุขภาพที่พึงประสงค์ 7 ด้าน ได้แก่ การจัดบริการสุขภาพ ...
  • การบริหารจัดการกำลังคนของสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินีและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล กรณีถ่ายโอนให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยใช้กลไกพระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ. 2562 

    เบญจวรรณ ถนอมชยธวัช; Benjawan Thanormchayatawat; ศิริวรรณ ชูกำเนิด; Siriwan Chukumnird; นิรัชรา ลิลละฮ์กุล; Niratchara Lillahkul; เจษฎากร โนอินทร์; Jetsadakon Noin; รัถยานภิศ รัชตะวรรณ; Ratthayanaphit Ratchathawan; บุญประจักษ์ จันทร์วิน; Boonprajuk Junwin; วัลลภา ดิษสระ; Wanlapa Dissara; สายัณต์ แก้วบุญเรือง; Sayan Kaewboonruang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-08)
    การศึกษาวิจัยเรื่องการบริหารจัดการกำลังคนของสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินี (สอน.) และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) กรณีถ่ายโอนไปยังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) โดยใช้กลไกพระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ ...
  • มุมมองและความคาดหวังของประชาชนต่อการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสู่การบริหารจัดการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 

    สสิธร เทพตระการพร; Sasitorn Taptagaporn; ศุภางค์ วัฒนเสย; Supang Wattanasoei; จิรภัทร หลงกุล; Jirapat Longkul; คัติยา อีวาโนวิช; Katiya Ivanovitch; สิริมา มงคลสัมฤทธิ์; Sirima Mongkolsomlit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-08)
    การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษามุมมองและความคาดหวังของประชาชนต่อการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) สู่การบริหารจัดการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) และวัตถุประสงค์รองเพื่อวิเคราะห์ผลกระทบการเปลี่ย ...
  • แนวทางการประเมินผลตัวชี้วัดเพื่อติดตามและประเมินผลประเทศใช้ยาอย่างสมเหตุผล 

    เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; เพชรลดา บริหาร; Phetlada Borriharn; นภาภรณ์ ภูริปัญญวานิช; Naphaphorn Puripunyavanich; ไตรเทพ ฟองทอง; Traithep Fongthong; กิตติภัค เจ็งฮั้ว; Kittipak Jenghua; บรรณสรณ์ เตชะจำเริญสุข; Bunnasorn Techajumlernsuk; อิสรีย์ฐิกา ชัยสวัสดิ์ จันทร์ส่องสุข; Isareethika Jayasvasti Chantarasongsuk; วีรยุทธ์ เลิศนที; Verayuth Lertnattee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
    แนวทางการประเมินผลตัวชี้วัดเพื่อติดตามและประเมินผลประเทศใช้ยาอย่างสมเหตุผล จัดทำขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของงานวิจัยเรื่องการพัฒนาตัวชี้วัดเพื่อติดตามและประเมินผลประเทศใช้ยาอย่างสมเหตุผล ซึ่งเป็นโครงการที่ได้รับการสนับสนุนจากสถา ...
  • การพัฒนาและใช้ระบบข้อมูลเฝ้าระวังชุมชนเพื่อเตรียมความพร้อมต่อการรับมือกับปัญหามลพิษข้ามพรมแดน 

    ภาสนันทน์ อัศวรักษ์; Passanan Assavarak; ธิดารัตน์ บุญศรี; Thidarat Bunsri; ศิริพันธ์ นันสุนานนท์; Siriphan Nunsunanon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
    โครงการศึกษาวิจัยเรื่อง การพัฒนาและใช้ระบบข้อมูลเฝ้าระวังชุมชนเพื่อเตรียมความพร้อมต่อการรับมือกับปัญหามลพิษข้ามพรมแดน มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิถีชีวิต เศรษฐกิจชุมชนและข้อมูลสุขภาพชุมชน รวมถึงเพื่อศึกษาทรัพยากรชุมชนและปร ...
  • การศึกษาเอกโซมของผู้เสียชีวิตกลุ่มอาการตายโดยมิปรากฏเหตุแบบฉับพลันในกลุ่มประชากรไทยที่เสียชีวิตในอายุน้อย 

    กรเกียรติ วงศ์ไพศาลสิน; Kornkiat Vongpaisarnsin; ทิฆัมพร สถิรแพทย์; Tikumphorn Sathirapatya; ปุณยภัทร สุขวุฒิยา; Poonyapat Sukawutthiya; ฮัสนีย์ โนะ; Hasnee Noh; ภัคค์ปภัส วรัชต์ญารมย์; Pagparpat Varrathyarom; รัชติพรรณ ปิติวรารมย์; Rachtipan Pitiwararom (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-08)
    การตรวจสารพันธุกรรมเพื่อใช้ในการหาปัจจัยทางพันธุกรรมที่เป็นสาเหตุของการก่อโรคหรือมีความสัมพันธ์ต่อการเกิดโรคนั้น ถูกนำมาใช้อย่างแพร่หลายทางการแพทย์ในปัจจุบัน ซึ่งสามารถนำมาใช้ในการค้นหายีนก่อโรคที่หายากหรือโรคที่มีปัจจัย ...
  • ต้นทุนบริการสุขภาพสำหรับการรักษาผู้ป่วยอาการเจ็บป่วยเล็กน้อยที่ร้านยาเปรียบเทียบกับการรักษาแบบผู้ป่วยนอกที่โรงพยาบาล 

    ปรุฬห์ รุจนธำรงค์; Parun Rutjanathamrong; ตวงรัตน์ โพธะ; Tuangrat Phodha; ธนะวัฒน์ วงศ์ผัน; Thanawat Wongphan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-08-08)
    อาการเจ็บป่วยเล็กน้อย (Common Illness) เป็นกลุ่มอาการเจ็บป่วยที่พบบ่อยในประชาชน ความรุนแรงและความซับซ้อนของโรคน้อย ประชาชนสามารถดูแลรักษาตนเองในเบื้องต้นได้ การรับบริการที่ร้านยาจึงเป็นทางเลือกที่ประชาชนเลือกใช้บริการ ...
  • แพลตฟอร์มแอปพลิเคชันคุณลูกสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลสุขภาพ 

    กุลวดี ศรีพานิชกุลชัย; Kunwadee Sripanidkulchai; รสวันต์ อารีมิตร; Rosawan Areemit; สมัย ศิริทองถาวร; Samai Sirithongthaworn; สุชาอร แสงนิพันธ์กูล; Suchaorn Saengnipanthkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
    เด็กและวัยรุ่นเป็นวัยสำคัญที่สมองและร่างกายของเด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สถานการณ์พัฒนาการของเด็กไทยวัย 0-5 ปี ยังพบว่า ปัญหาพัฒนาการล่าช้ายังเป็นปัญหาสำคัญ ซึ่งหากเด็กและวัยรุ่นได้รับการเลี้ยงดูและสร้างเ ...
  • การทบทวนและจัดทำข้อเสนอโครงสร้างสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขที่สอดคล้องกับบริบทที่เปลี่ยนแปลงไป 

    รพีสุภา หวังเจริญรุ่ง; Rapeesupa Wangcharoenrung; สุทธิ สืบศิริวิริยะกุล; Sutthi Suebsiriviriyakul; ฉัตรวลี เมธาสถิตย์สุข; Chatwalee Maethastidsook; กษมา ปัดทุม; Kasama Patthum; ธนวรรธน์ จาดศรี; Thanawat Chatsri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-07)
    จากกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการสำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 กำหนดให้สำนักงานปลัดกระทรวง มีภารกิจเกี่ยวกับการพัฒนายุทธศาสตร์และแปลงนโยบายของกระทรวงเป็นแผนปฏิบัติราชการ ตลอดจนจัดสรรทรัพยากรและบริหารราชการประจ ...

View more