Propagation of Knowledge about Poisonous Plants and Animals in a Community through Simple Civil Society
dc.contributor.author | ประวิทย์ เสรีขจรจารุ | en_US |
dc.contributor.author | Prawit Sereekajornjaru | en_US |
dc.coverage.spatial | ไทย | en_US |
dc.date.accessioned | 2008-09-29T08:58:45Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-16T16:01:20Z | |
dc.date.available | 2008-09-29T08:58:45Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-16T16:01:20Z | |
dc.date.issued | 2551 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 2,1 (ม.ค.-มี.ค. 2551) : 99-105 | en_US |
dc.identifier.issn | 0858-9437 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/205 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาข้อมูลเชิงคุณภาพของพืชและสัตว์มีพิษในชุมชนเกี่ยวกับความชุก แหล่งที่พบ ความเชื่อ ทัศนคติการนำไปใช้ประโยชน์ โดยวิธีอภิปรายกลุ่มและการประเมินประสิทธิผลของการถ่ายทอดความรู้ด้วยการนำรูปแบบการทำประชาคมมาประยุกต์ใช้ โดยวิธีวิจัยกึ่งทดลองในหมู่บ้าน 11 แห่ง ในอำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ ใช้กลุ่มตัวอย่าง 120 ตัวอย่าง ซึ่งคัดเลือกด้วยวิธี Stratified Random Sampling วิเคราะห์ข้อมูลแสดงค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยวิธีสถิติ pair t-test การศึกษาความชุกของพืชและสัตว์มีพิษจำนวน 23 ชนิดที่นำมาศึกษาพบว่าสบู่ดำ มันสำปะหลัง คางคก, เห็ดขี้วัว เห็ดแดงน้ำหมาก และเห็ดน้ำผึ้ง พบในทุกหมู่บ้าน พบกระจายอยู่ทั่วไปในทุ่งนา บริเวณวัด บ้าน โรงเรียนฯ ซึ่งเป็นความเสี่ยงของชุมชน ประกอบกับชาวบ้านยังมีความเชื่อและทัศนคติเดิมที่ถ่ายทอดกันมาเกี่ยวกับพืชและสัตว์มีพิษ รวมถึงการนำไปใช้ประโยชน์ที่ไม่เหมาะสม ซึ่งอาจส่งผลต่อปัญหาสุขภาพได้ ด้านการศึกษาถึงประสิทธิผลของการถ่ายทอดความรู้พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีระดับความรู้หลังการทำประชาคมสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 แม้คะแนนที่เพิ่มขึ้นอาจไม่แตกต่างมากนัก เนื่องจากปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนรู้ เช่น ภาษา ความเชื่อและทัศนคติเดิมของชาวบ้าน แต่การถ่ายทอดความรู้ด้วยการประชาคมอย่างง่ายก็เป็นกลวิธีหนึ่งที่ช่วยสร้างกระบวนการเรียนรู้ให้กับชุมชนโดยคนในชุมชนเอง ซึ่งอาจนำไปประยุกต์ใช้ในงานสาธารณสุขอื่นต่อไป | th_TH |
dc.format.extent | 221232 bytes | en_US |
dc.format.mimetype | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.title | การถ่ายทอดความรู้เรื่องพืชและสัตว์มีพิษ์สู่ชุมชนด้วยการประชาคมอย่างง่าย | en_US |
dc.title.alternative | Propagation of Knowledge about Poisonous Plants and Animals in a Community through Simple Civil Society | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dc.description.abstractalternative | This study was undertaken to determine qualitative data pertaining to the availability, beliefs, attitudes, and utilization of poisonous plants and animals in a community using group discussion, followed by an assessment of the efficiency of conveying the knowledge by civil society. The format was a quasiexperimental research approach in 11 villages in Khukhan district, Sisaket Province. The experiment was conducted by means of a stratified random sampling procedure; 120 samples were retrieved. The data obtained were statistically assessed in respect of frequency, percentage, means plus or minute the standard deviation, and paired t-test for comparison. The results showed that, among the 23 kinds of poisonous plants and animals studied, jatropha, tapioca, toad, Copelandia cyaneseens, Russula emetica, and Phaeogyroporus portentosus were present in every village in the fields, around temples and residences, etc. This finding, together with the traditional beliefs and attitudes of the villagers regarding poisonous plants and animals, could possibly lead to a health risk for the community. After utilizing simple civil society communication, the study group had shown significantly increased knowledge (p <0.05). The factors affecting the result of the learning process included language and the villagers’ traditional beliefs and attitudes. Although the statistical increase was not distinctive, the propagation of knowledge on poisonous plants and animals among the community through a simple civil society was a learning strategy that was related to some extent to the educational level in the community with regard to the local villagers in their own community. Furthermore, this type of learning strategy may also be adapted for utilization in other public health-related work. | en_US |
dc.subject.keyword | การถ่ายทอดความรู้ | en_US |
dc.subject.keyword | พืชและสัตว์มีพิษ | en_US |
dc.subject.keyword | การประชาคม | en_US |
dc.subject.keyword | Propagation of Knowledge | en_US |
dc.subject.keyword | Poisonous Plants and Animals | en_US |
dc.subject.keyword | Civil Society | en_US |
.custom.citation | ประวิทย์ เสรีขจรจารุ and Prawit Sereekajornjaru. "การถ่ายทอดความรู้เรื่องพืชและสัตว์มีพิษ์สู่ชุมชนด้วยการประชาคมอย่างง่าย." 2551. <a href="http://hdl.handle.net/11228/205">http://hdl.handle.net/11228/205</a>. | |
.custom.total_download | 474 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 5 | |
.custom.downloaded_this_year | 63 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 9 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
Fulltext
This item appears in the following Collection(s)
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ