แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การพัฒนาระบบบริการให้คำปรึกษาโรคเอชไอวีในคลินิกฝากครรภ์ของเครือข่ายสุขภาพอำเภอปง จังหวัดพะเยา

dc.contributor.authorสุกิจ ทิพทิพากรen_US
dc.contributor.authorSukit Thipthiphagonen_US
dc.contributor.authorสุจิรา บรรจงen_US
dc.contributor.authorSujira Bunjongen_US
dc.contributor.authorขวัญตา วงค์ลังกาen_US
dc.contributor.authorKaunta Wonglungkaen_US
dc.contributor.authorกัลยานา สุขสำราญen_US
dc.contributor.authorKunrayana Suksomrangen_US
dc.contributor.authorมัลลิกา ลือยศen_US
dc.contributor.authorMullika Rauyousen_US
dc.coverage.spatialพะเยาen_US
dc.date.accessioned2008-12-07T09:37:40Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T15:57:21Z
dc.date.available2008-12-07T09:37:40Zen_US
dc.date.available2557-04-16T15:57:21Z
dc.date.issued2551en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 2,3 (ก.ค.-ก.ย. 2551) (ฉบับเสริม 6) : 1456-1465en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/2145en_US
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องการพัฒนาระบบบริการให้คำปรึกษาโรคเอชไอวีในคลินิกฝากครรภ์ของเครือข่ายสุขภาพอำเภอปง จังหวัดพะเยา ในช่วงเดือนตุลาคม 2548 - กันยายน 2550 มีการดำเนินการ 4 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 พ.ศ. 2547 วิเคราะห์สถนการณ์และประเมินผลการดำเนินงานเพื่อกำหนดแนวทางในการแก้ปัญหา ขั้นตอนที่ ๒ พ.ศ. 2548 พัฒนาระบบบริการให้คำปรึกษาโรคเอชไอวีแก่คู่สามีภรรยาในคลินิกฝากครรภ์ ประชาสัมพันธ์โครงการฯ และเตรียมความพร้อมบุคลากรสาธารณสุขในการให้คำปรึกษา และทดลองใช้ระบบบริการให้คำปรึกษาในสถานีอนามัย 1 แห่ง ขั้นตอนที่ 3 พ.ศ. 2549 นำระบบบริการให้คำปรึกษาที่พัฒนาขึ้นมาดำเนินการเต็มพื้นที่ และประเมินผลประสิทธิผลของระบบ ขั้นตอนที่ 4 พ.ศ. 2550 ปรับปรุงแก้ไขระบบบริการให้คำปรึกษาโรคเอชไอวีแก่คู่สามีภรรยาให้เหมาะสม พร้อมที่จะนำไปสร้างเสริมความตระหนักถึงความสำคัญของการบริการให้คำปรึกษาโรคเอชไอวี สำหรับผู้มารับบริการที่คลินิกฝากครรภ์ของสถานบริการสาธารณสุข. เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วยแบบวัดความตระหนักถึงความสำคัญของการบริการให้คำปรึกษาโรคเอชไอวี แบบบันทึกข้อมูลทั่วไปของผู้มารับบริการให้คำปรึกษาโรคเอซไอวีแก่คู่สามีภรรยาในคลินิกฝากครรภ์ และแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างเกี่ยวกับความคิดเห็นของผู้มารับบริการต่อระบบบริการให้คำปรึกษาโรคเอชไอวีแก่คู่สามีกรรยา การวิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ และการวิเคราะห์เนื้อหา จากการวิจัยพบว่าหลังการอบรม กลุ่มตัวอย่างมีความตระหนักถึงความสำคัญของการบริการให้คำปรึกษาโรคเอชไอวีสูงกว่าก่อนการใช้ระบบบริการให้คำปรึกษาโรคเอชไอวี และประสบผลสำเร็จในการสร้างเครือข่ายเชื่อมต่อการบริการให้คำปรึกษาโรคเอชไอวีแก่คู่สามีภรรยา ในสถานบริการสาธารณสุขระดับปฐมภูมิ ที่อยู่ในเขตอำเภอปง จังหวัดพะเยา คือสามารถพัฒนาให้สถานีอนามัยทุกแห่งมีระบบบริการให้คำปรึกษาเรื่องเอชไอวีแก่คู่สามีภรรยาได้ร้อยละ 100 เพิ่มอัตราความครอบคลุมการให้คำปรึกษาเรื่องเอชไอวีแก่คู่สามีกรรยาเพื่อตรวจเลือดโดยสมัครใจในคลินิกฝากครรภ์ได้มากกว่าร้อยละ 80 ใน พ.ศ. 2550 และค้นหาคู่สามีกรรยาที่มีผลเลือดแตกต่างกันจำนวน 1 คู่ โดยสามารถป้องกันการติดเชื้อระหว่างกันได้ 1 คู่ หญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อทุกรายสมัครเข้าโครงการป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอซไอวีจากแม่สู่ลูก และป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูกได้มากกว่าร้อยละ 80th_TH
dc.format.extent223405 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleการพัฒนาระบบบริการให้คำปรึกษาโรคเอชไอวีในคลินิกฝากครรภ์ของเครือข่ายสุขภาพอำเภอปง จังหวัดพะเยาen_US
dc.title.alternativeHIV Counseling System in the Antenatal Care Unit of the Pong District Health Network, Phayao Provinceen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeThis research was conducted from October 2005 to September 2007 with the aim of developing a counseling system and determining the efficiency of HIV counseling in preventing the maternal transmission of HIV at the antenatal care unit in Pong District, Phayao Province. The first step was undertaken in 2004, namely a situation analysis and result evaluation for planning. The second step in 2005 developed the couple HIV counseling system, promoted project and personnel preparation, and tried a one-stop health center approach. The third step in 2006 implemented the system, while the fourth step in 2007 adjusted and further developed it. The device for collecting data was evaluated, i.e. an awareness form for HIV counseling and gathering general data for that purpose in the antenatal care unit. Analysis was by mean, percentage and standard deviation. The result of the study showed that after counseling the mean awareness of the couples was higher than before counseling and that success had been achieved in developing the couple HIV counseling system in the health center of Pong District. Coverage was more 100 percent of health centers and more than 80 percent of all such couples in 2007 in the antenatal unit; now all health centers have a couple HIV counseling system. There was no instance of one mate infecting another and in more than 80 percent of the pregnancies of an HIV-infected mother there was no transmission of the virus to the child.en_US
dc.subject.keywordเอชไอวีen_US
dc.subject.keywordเอดส์en_US
dc.subject.keywordระบบบริการen_US
dc.subject.keywordHIV Counselingen_US
dc.subject.keywordHIV Couplesen_US
.custom.citationสุกิจ ทิพทิพากร, Sukit Thipthiphagon, สุจิรา บรรจง, Sujira Bunjong, ขวัญตา วงค์ลังกา, Kaunta Wonglungka, กัลยานา สุขสำราญ, Kunrayana Suksomrang, มัลลิกา ลือยศ and Mullika Rauyous. "การพัฒนาระบบบริการให้คำปรึกษาโรคเอชไอวีในคลินิกฝากครรภ์ของเครือข่ายสุขภาพอำเภอปง จังหวัดพะเยา." 2551. <a href="http://hdl.handle.net/11228/2145">http://hdl.handle.net/11228/2145</a>.
.custom.total_download1327
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month22
.custom.downloaded_this_year396
.custom.downloaded_fiscal_year60

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri-journal-v2n3 ...
ขนาด: 236.0Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย