แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

สถานการณ์ปัจจุบันของจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ : การศึกษากลยุทธ์การคุ้มครองการวิจัยในกระทรวงสาธารณสุข

dc.contributor.authorวิชัย โชควิวัฒนen_US
dc.contributor.authorVichai Chokevivaten_EN
dc.coverage.spatialไทยen_US
dc.date.accessioned2009-01-13T10:01:31Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T16:01:33Z
dc.date.available2009-01-13T10:01:31Zen_US
dc.date.available2557-04-16T16:01:33Z
dc.date.issued2551-12en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 2,4 (ต.ค.-ธ.ค.2551) : 507-514en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/2222en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลไกคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์ คือคณะกรรมการศึกษาวิจัยในคน ในหน่วยงานส่วนกลางของกระทรวงสาธารณสุข โดยการทบทวนเอกสาร, ใช้แบบสอบถาม และการสัมภาษณ์เจาะลึก ซึ่งพบว่าในปัจจุบันส่วนราชการส่วนใหญ่ในกระทรวงสาธารณสุข ได้จัดตั้งคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษข์ขึ้น ได้แก่ กรมการแพทย์, กรมควบคุมโรค, กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก, กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์, สุขภาพจิต และสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในกรมการแพทย์มีคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ระดับสถาบัน เช่น สถาบันประสาทวิทยา, สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี กรรมการในคณะกรรมการส่วนมากรู้จักและเข้าใจหลักและแนวทางจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ องค์ประกอบของคณะกรรมการเป็นไปตามหลักสากล คณะกรรมการแต่ละแห่งมีหลักกณฑ์การพิจารณาและแนวทางดำเนินงานที่เป็นมาตรฐานของตนเอง มีเพียงชุดเดียวคือ คณะกรรมการพิจารณาการศึกษาวิจัยในมนุษย์ด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกที่ได้รับการรับรองมาตรฐานจากหน่วยงานระดับสากล สิ่งที่ควรปรับปรุงแก้ไข ได้แก่ กระทรวงสาธารณสุขยังให้การสนับสนุนด้านการวิจัยเป็นอันดับรองจากงานด้านบริการ, วารสารวิชาการทางการแพทย์และสาธารณสุขยังไม่เคร่งครัดว่างานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ที่จะได้ตีพิมพ์จะต้องได้รับการพิจารณาและเห็นชอบจากคณะกรรมการจริยธรรมเสียก่อน คณะกรรมการส่วนมากจำกัดบทบาทที่การทบทวนโครงการก่อนการวิจัย ยังไม่ได้ให้ความสนใจนักกับการทบทวนต่อเนื่องและการเยี่ยมสถานที่วิจัย การทบทวนของคณะกรรมการพิจารณาทั้งวิชาการและด้านจริยธรรม ทำให้อาจมีปัญหาด้านคุณภาพ เพราะความสามารถทางวิชาการของคณะกรรมการอาจไม่เพียงพอกับการศึกษาวิจัยที่หลากหลายและชับซ้อน คณะกรรมการส่วนมากได้รับการสนับสนุนไม่พอเพียง ยังไม่ได้นำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้อย่างเต็มที่ บางแห่งอาจมีปัญหาความล่าช้าในการพิจารณาและความอิสระในการพิจารณาในบางกรณีด้วยth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectนักวิจัย--แง่ศีลธรรมจรรยาen_US
dc.subjectนักวิจัย--จรรยาบรรณen_US
dc.titleสถานการณ์ปัจจุบันของจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ : การศึกษากลยุทธ์การคุ้มครองการวิจัยในกระทรวงสาธารณสุขen_US
dc.title.alternativeSituational Review of Ethics in Research Involving Humans: A Study of Human Subject Protection in the Ministry of Public Healthen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeThe objective of the study was to assess the mechanism of human subject protection, focusing on the ethics committee in the central part of the Ministry of Public Health. The methodologies included a literature review, questionaire, and in-depth interview. The study revealed that most departments in the Ministry had established ethics committees, i.e., Ministry of Public Health, Department for the Development of Thai Traditional and Alternative Medicine, Department of Medical Services, Department of Disease Control, Department of Medical Science, Department of Mental Health, and the Health System Research Institute. There are institutional ethics committees in the Department of Medical Services, e.g., the National Neurological Institute and the Queen Sirikit National Institute of Child Health. Most members of the committees are acquainted with international ethical principles and guidelines for research involving humans. The composition of the committees is in line with international guidelines. Each committee has its own guidelines and standard operating procedures. Only one committee has been surveyed, evaluated, and recognized by the SIDCER/FERCAP Recognition Program, i.e., the Ethics Committee for Thai Traditional and Alternative Medicine. Since research is not the first priority of the Ministry of Public Health, there are some shortcomings that need to be considered for correction and improvement. Most medical and health journals have no policy requiring the ethical clearance of studies submitted for publication. Most ethics committees focus only on a preview of the protocol, with no proactive activities on continuous review or site visits. Most committees review both scientific and ethical aspects; meanwhile, most members of ethics committees have limited knowledge and experience in research on advanced and complicated sciences. The support of most committees is inadequate. Information techno-logy is not fully used by most committees. Some committees have problems in conducting timely reviews and there may be doubts about their independence in some cases.en_EN
dc.subject.keywordการวิจัยในมนุษย์en_US
dc.subject.keywordจริยธรรมen_US
dc.subject.keywordการคุ้มครองอาสาสมัครen_US
dc.subject.keywordEthicsen_US
dc.subject.keywordHuman Researchen_US
dc.subject.keywordSubject Protectionen_US
.custom.citationวิชัย โชควิวัฒน and Vichai Chokevivat. "สถานการณ์ปัจจุบันของจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ : การศึกษากลยุทธ์การคุ้มครองการวิจัยในกระทรวงสาธารณสุข." 2551. <a href="http://hdl.handle.net/11228/2222">http://hdl.handle.net/11228/2222</a>.
.custom.total_download690
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month3
.custom.downloaded_this_year76
.custom.downloaded_fiscal_year7

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri-journal-v2n4 ...
ขนาด: 163.2Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย