แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การผ่าตัดเปิดช่องท้องขนาดเล็กซ่อมกระเพาะอาหาร หรือลำไส้เล็กส่วนต้นทะลุ

dc.contributor.authorประดิษฐ ธนาเดชากุลen_US
dc.contributor.authorPradit Tanadachakulen_US
dc.coverage.spatialลพบุรีen_US
dc.date.accessioned2008-10-01T10:46:04Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T15:55:25Z
dc.date.available2008-10-01T10:46:04Zen_US
dc.date.available2557-04-16T15:55:25Z
dc.date.issued2551en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 2,1 (ม.ค.-มี.ค. 2551) (ฉบับเสริม 4) : 854-858en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/279en_US
dc.description.abstractการศึกษาเชิงพรรณนาแบบย้อนหลังในโรงพยาบาลชัยบาดาลเพื่อประเมินผลการผ่าตัดเปิดช่องท้องขนาดเล็กปิดรอยทะลุอย่างง่ายๆ ด้วยแผ่นโอเมนตัม ในการรักษาผู้ป่วยที่มีแผลเปื่อยกระเพาะอาหารหรือลำไส้เล็กส่วนต้นทะลุ เพื่อทราบประโยชน์ของวิธีการและผลดีผลเสียในด้านต่างๆ ตัวอย่างที่ศึกษาเป็นผู้ป่วย 62 ราย ใน 70 รายที่ได้รับการผ่าตัด โดยรวบรวมข้อมูลย้อนหลังจาก 1 ตุลาคม 2544 ถึง 30 กันยายน 2550 การศึกษาพบอัตราส่วนผู้ป่วยชายต่อหญิง 8 : 1 อายุเฉลี่ย 51.2 ± 15.6 ปี ผู้ป่วยอายุมากกว่า 60 ปี ร้อยละ 12.8 ตำแหน่งแผลที่ทะลุแบบที่ 3 (ส่วนพรีพัยรอลิคและดูโอดีนัมส่วนที่ 1) ร้อยละ 78.4 แบบที่ 1 (แอนทรัม) ร้อยละ 14.5 ใช้เวลาในการผ่าตัดเฉลี่ย 32.8 ± 12.7 นาที มีภาวะแทรกซ้อนร้อยละ 30 ของผู้ป่วยทั้งหมด ได้แก่ แผลผ่าตัดอักเสบ 12 ราย ไข้หลังผ่าตัด 4 ราย ฯลฯ ไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิต สรุป การรักษาผู้ป่วยโดยวิธีนี้ ร่วมการให้ยาต้านเชื้อ เอช.พัยลอรี และร่วมกับกลุ่ม Proton pump หลังผ่าตัด มีผลดีก็คือ มีแผลขนาดเล็ก เจ็บน้อยกว่า ผู้ป่วยช่วยเหลือตัวเองได้เร็วขึ้น ปอดทำงานดีขึ้น สามารถลดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงหลังการผ่าตัดได้ และไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิตth_TH
dc.format.extent154887 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleการผ่าตัดเปิดช่องท้องขนาดเล็กซ่อมกระเพาะอาหาร หรือลำไส้เล็กส่วนต้นทะลุen_US
dc.title.alternativeMini-laparotomy Exploration in Peptic Ulcer Perforationen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeThis retrospective descriptive study was designed to determine the clinical outcomes of mini-laparotomy exploration (MLE), with simple closure of a perforated ulcer in patients treated at Chaibadan Hospital. Of the 70 ulcer patients, 62 (M:F 8:1; aged 51.2 ± 15.6 years and 12.8% over 60) underwent the MLE procedure in the period between October 1, 2001 and September 30, 2007. The ulcer types were type I (prepyloric part of stomach and first part of duodenum) 78.4 percent, and type I (antrum) 14.5 percent. The average operative time was 32.8 ± 12.7 minutes. Operative complications were encountered in 30 percent of the patients, i.e., 12 patients with an infected wound, and four patients had postoperative fever; however, there was no death. Postoperative medication included anti-H. pylori and proton pump in all patients. The benefits of the surgical procedure studied were small abdominal wound and scar with less pain, decreased severe complications with early ambulation and no mortality.en_US
dc.subject.keywordการผ่าตัดเปิดช่องท้องขนาดเล็กen_US
dc.subject.keywordแผลเปี่อยกระเพาะอาหารen_US
dc.subject.keywordกระเพาะอาหารหรือลำไส้เล็กส่วนต้นทะลุen_US
dc.subject.keywordPeptic Ulcer Perforation (PUF)en_US
dc.subject.keywordMini-laparotomy Explorationen_US
dc.subject.keywordSimple PUF Closure with Omental Graften_US
.custom.citationประดิษฐ ธนาเดชากุล and Pradit Tanadachakul. "การผ่าตัดเปิดช่องท้องขนาดเล็กซ่อมกระเพาะอาหาร หรือลำไส้เล็กส่วนต้นทะลุ." 2551. <a href="http://hdl.handle.net/11228/279">http://hdl.handle.net/11228/279</a>.
.custom.total_download6435
.custom.downloaded_today2
.custom.downloaded_this_month99
.custom.downloaded_this_year1511
.custom.downloaded_fiscal_year221

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri-journal-v2n1 ...
ขนาด: 155.6Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย