• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
ดูรายการ 
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Articles
  • ดูรายการ
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Articles
  • ดูรายการ
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

ผู้จัดการงานวิจัย : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ

จรวยพร ศรีศศลักษณ์; ตรึงตา พูลผลอำนวย; Jaruayporn Srisasalux; Trungta Poolponamnuay;
วันที่: 2552
บทคัดย่อ
การจัดการงานวิจัยเป็นปัจจัยพื้นฐานสำคัญต่อการลงทุนด้านการวิจัย วัตถุประสงค์หลักของการจัดการงานวิจัยคือ เพื่อผลักดันให้เกิดงานวิจัยที่สามารถใช้ประโยชน์ได้จริง บทความนี้นำเสนอมุมมองต่อการจัดการงานวิจัยในระบบสุขภาพจากประสบการณ์ตรงของผู้เขียน ร่วมกับการทบทวนแนวคิดการจัดการงานวิจัยและการจัดการความรู้และได้ถ่ายทอดในเชิงวิเคราะห์ใน 3 ประเด็นคือ แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการงานวิจัย กระบวนการจัดการงานวิจัย และบทบาทผู้จัดการงานวิจัย การจัดการงานวิจัยที่มีความสำคัญอย่างยิ่งในการสร้างนักวิจัยที่มีคุณภาพ การกำหนดประเด็นวิจัยที่ดี ตลอดจนทำให้เกิดการทำวิจัยและการนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ หัวใจสำคัญของการจัดการงานวิจัยที่ดีอยู่ที่ความสามารถในการเชื่อมโยงให้เกิดความสัมพันธ์สอดคล้องและเชื่อมต่อกันทุกภาคส่วนในระบบวิจัย โดยกระบวนการในการจัดการงานวิจัย ได้แก่ การกำหนดประเด็นวิจัย การพิจารณาโครงการเพื่อสนับสนุนการวิจัย การกำกับติดตามการดำเนินโครงการวิจัย และการประเมินผลโครงการวิจัย โดยผู้มีบทบาทสำคัญในกระบวนการดังกล่าวคือ ผู้จัดการงานวิจัยซึ่งต้องมีความสามารถทั้งด้านวิชาการและการจัดการ เพื่อจัดการให้งานวิจัยมีคุณภาพ มีทิศทางที่เหมาะสม และผลงานวิจัยที่เกิดขึ้นถูกนำไปใช้ประโยชน์

บทคัดย่อ
Research management is a key supporting factor for systems research investment. The main objective of research management is essential linkage between researchers and research users. This article describes points of view in health systems research management from the authors’ direct experience in reviewing and analyzing three issues: the research management concept, the research management process and the role of the research manager. Good research management helps in building qualified researchers, formulating interesting research questions, and obtaining acceptable research results leading to suitable utilization. The key success factor of research management depends on the linkage capacity of all partnerships within the research system. The principal roles of health research management may be summed up in four major functions: (1) facilitating formulation of the research scope by identifying problems and setting priorities; (2) facilitating research involvement among researchers and stakeholders in the health system for selecting research proposals; (3) facilitating research monitoring; and (4) facilitating research assessment for knowledge utilization. Certainly, the key person in this process is the research manager. For this reason, research managers should be strengthened both in terms of academic capacity and in management skills for qualified research administration.
Copyright ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์
ฉบับเต็ม
Thumbnail
ชื่อ: hsri-journal-v3n4 ...
ขนาด: 225.0Kb
รูปแบบ: PDF
ดาวน์โหลด

คู่มือการใช้งาน
(* หากไม่สามารถดาวน์โหลดได้)

จำนวนดาวน์โหลด:
วันนี้: 0
เดือนนี้: 1
ปีงบประมาณนี้: 83
ปีพุทธศักราชนี้: 47
รวมทั้งหมด: 863
 

 
 


 
 
แสดงรายการชิ้นงานแบบเต็ม
คอลเล็คชั่น
  • Articles [1366]

    บทความวิชาการ


DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
Theme by 
Atmire NV
 

 

เลือกตามประเภท (Browse)

ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)ประเภททรัพยากรนี้ปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [619]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [99]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [125]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [158]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1281]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [228]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [20]

DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
Theme by 
Atmire NV