Show simple item record

Plague: A Re-emerging Disease

dc.contributor.authorไอยฤทธิ์ ไทยพิสุทธิกุลen_US
dc.contributor.authorIyarit Thaipisuttkulen_EN
dc.date.accessioned2010-07-21T02:48:49Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T16:05:50Z
dc.date.available2010-07-21T02:48:49Zen_US
dc.date.available2557-04-16T16:05:50Z
dc.date.issued2553-03en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 4,1 (ม.ค.-มี.ค.2553) : 31-40en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/2954en_US
dc.description.abstractกาฬโรคเป็นโรคในสัตว์ตระกูลฟันแทะที่เกิดจากแบคทีเรีย Yersinia pestis โดยมีหมัดเป็นพาหะ โรคในมนุษย์นั้นเกิดจากการติดเชื้อโดยบังเอิญ จากการถูกหมัดกัดหรือจากการสัมผัสสัตว์ที่ติดเชื้อ ในอดีต กาฬโรคเป็นโรคที่มีความรุนแรงสูง มีการระบาดในมนุษย์หลายครั้งซึ่งแต่ละครั้งมีผู้เสียชีวิตจำนวนมาก ในปัจจุบัน อุบัติการณ์โรคน้อยลงมากเนื่องจากเชื้อตอบสนองต่อยาต้านจุลชีพได้ดีมาก ประกอบกับสุขอนามัยชุมชนและการควบคุมประชากรหนูได้รับการปรับปรุงประสิทธิภาพดีขึ้นมาก อย่างไรก็ตาม กาฬโรคยังเป็นโรคที่ไม่ควรมองข้าม เนื่องจากยังคงมีรายงานผู้ป่วยกาฬโรคอยู่ประปราย และในบางประเทศโดยเฉพาะในทวีปแอฟริกากลับมีรายงานผู้ป่วยมากขึ้นเรื่อยๆ การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศของสังคมและเศรษฐกิจมีส่วนทำให้ผู้คนย้ายถิ่นฐานเข้าไปยังแหล่งที่มีกาฬโรคในสัตว์ ทำให้มีแนวโน้มที่จะมีอุบัติการของกาฬโรคสูงขึ้นในอนาคต นอกจากนั้นแล้วเชื้อกาฬโรคยังเป็นเชื้อที่นำไปทำเป็นอาวุธชีวภาพโดยกลุ่มผู้ก่อการร้ายในยุคใหม่นี้ได้อีกด้วย ด้วยเหตุนี้องค์การอนามัยโลกจึงจัดให้กาฬโรคอยู่ในกลุ่มโรคอุบัติซ้ำ ซึ่งบุคลากรทางสาธารณสุขควรตระหนักและคิดถึงโรคนี้เมื่อพบผู้ป่วยมีประวัติป่วยน่าสงสัยen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectกาฬโรคen_US
dc.subjectหมัดen_US
dc.titleกาฬโรค : โรคอุบัติซ้ำen_US
dc.title.alternativePlague: A Re-emerging Diseaseen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativePlague, an infectious disease caused by the bacillus Yersinia pestis, is primarily a disease in rodents and is carried by fleas. Humans accidentally contract the disease via flea bites or exposure to infected animals. There are records of several plague pandemics in the past that produced enormous mortality. Today the incidence of plague has been substantially reduced owing to the effectiveness of antimicrobials, improved sanitation and effective pest control. Currently, however, the disease seems increasingly to be re-emerging, especially in Africa. Climate change and the global fluctuation in politics and poor economics may be related partly to the migration of human populations into plague endemic areas. Also, plague bacilli can be used for modern-day bioterrorism. Because the tendency of plague epidemics to occur is increasingly alarming, the World Health Organization has categorized plague as a re-emerging disease. This communication may serve as a refresher course on plague so that those in Thai medical circles may prepare for future outbreaks.en_US
dc.subject.keywordโรคอุบัติซ้ำen_US
dc.subject.keywordYersinia Pestisen_US
.custom.citationไอยฤทธิ์ ไทยพิสุทธิกุล and Iyarit Thaipisuttkul. "กาฬโรค : โรคอุบัติซ้ำ." 2553. <a href="http://hdl.handle.net/11228/2954">http://hdl.handle.net/11228/2954</a>.
.custom.total_download7899
.custom.downloaded_today3
.custom.downloaded_this_month87
.custom.downloaded_this_year915
.custom.downloaded_fiscal_year2132

Fulltext
Icon
Name: hsri-journal-v4n1 ...
Size: 300.4Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1334]
    บทความวิชาการ

Show simple item record