ภาวะโลกร้อนกับเพศทารกแรกคลอดในประเทศไทย
dc.contributor.author | อรวรรณ ศิริรัตน์พิริยะ | en_US |
dc.contributor.author | สมชัย บวรกิตติ | en_US |
dc.contributor.author | Orawan Siriratpiriya | en_EN |
dc.contributor.author | Somchai Bovornkitti | en_EN |
dc.date.accessioned | 2010-07-21T02:50:09Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-16T16:05:51Z | |
dc.date.available | 2010-07-21T02:50:09Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-16T16:05:51Z | |
dc.date.issued | 2553-03 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 4,1(ม.ค.-มี.ค.2553) : 41-52 | en_US |
dc.identifier.issn | 0858-9437 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/2955 | en_US |
dc.description.abstract | ในรอบศตวรรษที่ผ่านมา (พ.ศ. 2449-2548) อุณหภูมิเฉลี่ยบนผิวโลกเพิ่มขึ้นสูงสุดในช่วง พ.ศ. 2538-2549 โดยปีที่ร้อนที่สุดคือ พ.ศ. 2541 และ พ.ศ. 2548 คณะผู้วิจัยสนใจว่าภาวะโลกร้อนช่วงนี้เป็นปัจจัยอิงกำหนดเพศภาวะของคนไทยเพียงใด ผลการศึกษาจากการวิเคราะห์ข้อมูลทุติยภูมิอุณหภูมิของกรมอุตุนิยมวิทยา และข้อมูลเพศภาวะเด็กแรกคลอดของสำนักงานสถิติแห่งชาติ พ.ศ.2536-2551 แยกตามรายภาค (เหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือ กลาง ตะวันออก ใต้ฝั่งตะวันออก และใต้ฝั่งตะวันตก) และรายจังหวัดที่มีอุณหภูมิสูงสุดในแต่ละภาค (ตาก หนองคาย กาญจนบุรี ปราจีนบุรี ประจวบคีรีขันธ์ และตรัง) พบว่า พ.ศ.2541 และพ.ศ.2548 เป็นปีที่มีอุณหภูมิสูงสุด (ตรงกับข้อมูลอุณหภูมิโลก) และพบว่าในปีถัดจากปีที่อุณหภูมิเพิ่มขึ้นสูงสุด สัดส่วนทารกเพศชาย : หญิงอยู่ในช่วง 1.046-1.064 (สัดส่วนประชากรโลก 1.07) โดยเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นจำนวนทารกเพศชายมีแนวโน้มลดลงในภาคเหนือ กลาง ตะวันออกเฉียงเหนือ และใต้ฝั่งตะวันตก แต่เพิ่มขึ้นในภาคตะวันออกและใต้ฝั่งตะวันออก จังหวัดที่มีอุณหภูมิสูงสุดในแต่ละภาคมีจำนวนทารกเพศชายและเพศหญิงลดลงในปีก่อนหน้าและหลังจากปีที่มีอุณหภูมิสูงสุด เมื่อเทียบจำนวนที่เปลี่ยนแปลงในปีถัดไปของแต่ละปี พบว่าเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นจำนวนทารกเพศชายลดลงแต่จำนวนทารกเพศหญิงเพิ่มขึ้น ดังนั้นพอจะสรุปได้ว่า การเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิอากาศมีผลทำให้จำนวนทารกเพศหญิงแรกคลอดเพิ่มขึ้น แม้ว่าภาพรวมของทุกจังหวัดในประเทศไทยมีจำนวนทารกแรกคลอดเพศชายมากกว่าเพศหญิงโดยตลอด | en_US |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.title | ภาวะโลกร้อนกับเพศทารกแรกคลอดในประเทศไทย | en_US |
dc.title.alternative | Global Warming and the Sex Ratios of the Newborn in Thailand | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dc.description.abstractalternative | The impact of global warming on everything on Earth has been observed and reported by scientists from every corner of the world for an extended time. Among those phenomena have been the correlation of sex ratios at birth to increasing global temperatures. From known biological facts, sex determination can be genotypic (GSD) or temperature-dependent (TSD). A number of previous studies have suggested that TSD may be very common in many species of lower vertebrates, especially fish and reptiles, with increasing temperatures generally affecting the sex ratio of a species (leading to many males and few females). The most frequent citation is noted in a study directed by two Spanish researchers, Natalie Ospina-Alvarez and Francese Piferrer, reported under the title “temperature-dependent sex determination in fish revisited: prevalence, a single sex ratio response pattern, and possible effects in climate change,” published in the July 30, 2008 edition of the scientific journal Public Library of Science (PLoS ONE). They show that even small changes of just 1-2°C can significantly alter the sex ratio from 1:1 (males : females) to 3:1 in both freshwater and marine species. It is already known that high temperatures inhibit the synthesis of estrogens, which are essential for female sex differentiation in fish and reptiles. In mammals, under circumstances of ordinary temperature, male live births exceed those of females. In humans, the ratio of male births to total births also favor the same trend. It has been hypothesized that levels of steroid hormones (testosterone and estrogen) in both parents around the time of conception are positively associated with the offspring sex ratio (proportion of males at birth) of mammals, including humans. Some people, particularly women, in suboptimal health produce an excess of sons; thus, gonadal hormones are responsible for adaptive variation. While our findings of the comparative analysis on the secondary data obtained from the Thai Meteorological Department and from the National Statistical Office in the 16-year period 1993-2009 show that increasing temperatures result in an increased prevalence of newborn females over males. Details of complex analytic patterns are elaborated in the text. | en_US |
dc.subject.keyword | ภาวะโลกร้อน | en_US |
dc.subject.keyword | การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิโลก | en_US |
dc.subject.keyword | เพศทารก | en_US |
dc.subject.keyword | Global Warming | en_US |
dc.subject.keyword | Sex Ratios at Birth | en_US |
.custom.citation | อรวรรณ ศิริรัตน์พิริยะ, สมชัย บวรกิตติ, Orawan Siriratpiriya and Somchai Bovornkitti. "ภาวะโลกร้อนกับเพศทารกแรกคลอดในประเทศไทย." 2553. <a href="http://hdl.handle.net/11228/2955">http://hdl.handle.net/11228/2955</a>. | |
.custom.total_download | 1338 | |
.custom.downloaded_today | 2 | |
.custom.downloaded_this_month | 22 | |
.custom.downloaded_this_year | 281 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 45 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
ฉบับเต็ม
ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ