Now showing items 21-40 of 75

    • ต้นทุนรูปแบบบริการผู้ป่วยในโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ประเทศไทย: กรณีศึกษาโรงพยาบาล 5 แห่ง 

      อรทัย เขียวเจริญ; Orathai Khiaocharoen; อภิรนันท์ พงจิตภักดิ์; Aphiranan Phongjetpuk; ธันวา ขัติยศ; Tanwa Khattiyod; ชัชชน ประเสริฐวรกุล; Chatchon Prasertworakul; ทยาภา ศรีศิริอนันต์; Thayapa Srisirianun; พงษ์ลัดดา หล่ำพู่; Pongladda Lampu; อรรศธร ศุกระชาต; Assatorn Sukrachat; ชัยโรจน์ ซึงสนธิพร; Chairoj Zungsontiporn; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาต้นทุนรูปแบบบริการสุขภาพ (health service models) ผู้ป่วยโควิด-19 ที่โรงพยาบาลจัดไว้สำหรับรองรับการรักษาตามระดับอาการของผู้ป่วย โดยวิเคราะห์ต้นทุนในมุมมองผู้ให้บริการ ใช้การวิเคราะห์ต้นท ...
    • ถ่ายโอนระบบสุขภาพกับรักษาทุกที่ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-03)
      วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ฉบับเริ่มต้นปี พ.ศ. 2567 เสนอบทความการกระจายอำนาจถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) และระบบสุขภาพปฐมภูมิ และขณะเดียวกับที่บรรยากาศนโยบายรัฐกำลังขับเคลื่อนนโยบายยกระดับบัตรทอง บัตรประชาชน ...
    • บทบาทวารสารวิชาการด้านการวิจัยระบบสาธารณสุข 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      บทบรรณาธิการวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 ก.ค.-ก.ย. 2558 ได้เคยประกาศความมุ่งมั่นจะทำให้วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ก้าวสู่วารสารในฐานข้อมูลของอาเซียน และวางวิสัยทัศน์ว่า “เป็นวารสารชั้นนำด้านการวิจัยระบบสุขภาพ ...
    • บทบาทและทางเลือกที่เหมาะสมของกระทรวงสาธารณสุข ภายหลัง 10 ปี ของการกระจายอำนาจด้านสุขภาพ 

      วินัย ลีสมิทธิ์; Vinai Leesmidt; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-09)
      ระยะ 10 ปีที่ผ่านมานั้น กระทรวงสาธารณสุขได้ถ่ายโอน 7 ภารกิจและสถานีอนามัย (สอ.) กว่า 30 แห่งให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวมีทั้งที่ประสบผลสำเร็จและล้มเหลว กระทรวงสาธารณสุขควรจะทบทวนกระบวนการถ่า ...
    • บริการสุขภาพจำเป็นแต่ไม่ได้รับการตอบสนองบ่งบอกนัยอะไร 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06)
      ความจำเป็นต่อบริการสุขภาพ (health care need) ที่ไม่ได้รับการตอบสนอง (unmet) เริ่มปรากฏ เป็นตัวชี้วัดเปรียบเทียบระบบบริการสุขภาพระหว่างประเทศต่างๆ ในรายงานขององค์การเพื่อความร่วมมือและพัฒนาทางเศรษฐกิจ (Organisation for ...
    • บริการสุขภาพปฐมภูมิแบบไร้รอยต่อกับความจริงด้านมาตรฐานข้อมูลสุขภาพที่ผู้คนมักไม่ตระหนัก 

      บุญชัย กิจสนาโยธิน; Boonchai Kijsanayotin; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-06)
      ประเทศไทยให้ความสำคัญกับระบบสุขภาพปฐมภูมิมานานกว่าสองทศวรรษ มีนโยบายจำนวนมากลงมาสู่ระบบสุขภาพปฐมภูมิ แต่ระบบข้อมูลบริการสุขภาพที่จำเป็นและเป็นมาตรฐานได้รับการพัฒนาช้ากว่าที่ควร ซึ่งเป็นความจริงที่ตระหนักกันน้อยว่ามาตรฐาน ...
    • ประชาชนสุขภาพดีด้วยการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-12)
      การก้าวเข้าสู่ทศวรรษใหม่ เริ่มด้วยปี ค.ศ. 2020 บทเรียนจาก Healthy People หรือ ประชาชนสุขภาพดีในสหรัฐอเมริกา น่าจะเหมาะสมกับบทบรรณาธิการฉบับนี้ มองย้อนหลังไปเดือนกันยายน ค.ศ. 1990 กระทรวงสาธารณสุขแห่งสหรัฐอเมริกาเปิดตัวหนังสือ ...
    • ประเมินนโยบายการดูแลสุขภาพระยะกลางของกระทรวงสาธารณสุข: การวิเคราะห์เชิงปริมาณ 

      ธัญพร ชื่นกลิ่น; Thunyaporn Chuenklin; นงณภัทร รุ่งเนย; Nongnaphat Rungnoei; นภัส แก้ววิเชียร; Naphas Kaeowichian; เบญจพร สุธรรมชัย; Benjaporn Suthamchai; กฤติกา โคตรทอง; Krittika Khotthong; วิชาญ เกิดวิชัย; Wicharn Girdwichai; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-06)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์การดำเนินงานการดูแลสุขภาพระยะกลางตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข หน่วยบริการสุขภาพที่ดูแลสุขภาพระยะกลางในผู้ป่วย 3 กลุ่มโรคได้แก่โรคหลอดเลือดสมอง สมองบาดเจ็บและไขสันหลังบาดเจ็บ จำนวน ...
    • ปัจจัยการอภิบาลระบบที่มีอิทธิพลต่อการดำเนินงานเขตสุขภาพเพื่อประชาชนของประเทศไทย 

      สุมาลี เฮงสุวรรณ; Sumalee Hengsuwan; วินัย ลีสมิทธิ์; Vinai Leesmidt; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์หาระดับการอภิบาลระบบของเขตสุขภาพเพื่อประชาชน บทบาทสำคัญของคณะกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชน (กขป.) ในการอภิบาลระบบและ จัดกลุ่มการอภิบาลระบบของเขตสุขภาพเพื่อประชาชนทั้งประเทศ ...
    • ปิดช่องว่างด้วยระบบสุขภาพ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-03)
      บทความในวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2564 ให้ความสำคัญกับการลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย โดยให้ความสนใจกับสุขภาพเด็กตั้งแต่เริ่มต้นด้วยการให้ทารกได้กินนมแม่ นโยบายกินนมแม่อย่างเดียวจนอายุหกเดือ ...
    • มองปฏิรูประบบสุขภาพผ่านรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2559 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-09)
    • มิติเวลาเพื่อความเป็นธรรม ข้อสังเกตจากโควิด 19 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)
      ปรากฏการณ์ที่โรคโควิด 19 สามารถเป็นได้กันทุกคนทั่วโลกเพราะไม่มีใครมีภูมิคุ้มกันมาก่อน ใครสัมผัสก่อน คนนั้นเป็นก่อน จนกระทั่งเป็นกันเกือบทุกคน โรคจึงสงบได้ มิติทางเวลา เช่น ใครติดโรคก่อนหรือเป็นทีหลัง ก็อาจทำให้ผลลัพธ์การ ...
    • ยาปฏิชีวนะ: จากดินสู่ดิน 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)
      การค้นพบเพนนิซิลลินของ Sir Alexander Fleming ที่โรงพยาบาลเซ็นต์แมรี่ กรุงลอนดอน เมื่อปี ค.ศ. 1928 เป็นการเปิดศักราชใหม่ของยาปฏิชีวนะที่ช่วยชีวิตผู้คนจำนวนมากจากโรคติดเชื้อ Streptococcus, Staphylococcus, ไข้กาฬหลังแอ่น คอตีบ ...
    • ระบบการคลังกับการกระจายอำนาจทางสาธารณสุข 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย (2538)
      จากการเสนอโครงร่างศึกษาแนวทางการกระจายอำนาจการบริหารงานสาธารณสุขส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น โดยสถาบันที่ปรึกษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ ร่วมกับกระทรวงสาธารณสุข ในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2538 ณ วิทยาลัยการสาธารณสุข จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ...
    • ระบบการจัดกลุ่มผู้รับบริการของออสเตรเลียให้บทเรียนอะไรแก่ไทยบ้าง 

      ประดิษฐ์ วงษ์คณารัตนกูล; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย (2538)
      รายงานฉบับนี้เป็นการสรุปการดูงานด้านระบบแบ่งกลุ่มผู้รับบริการ และกลุ่มวินิจฉัยโรคร่วมของหน่วยงานต่างๆ ในประเทศออสเตรเลีย ระหว่างวันที่ 27 มีนาคม - 7 เมษายน 2538 การดูงานครั้งนี้ได้รับความร่วมมืออย่างดียิ่งจากกระทรวงสาธาร ...
    • ระบบข้อมูลข่าวสารเพื่อตัดสินใจให้เกิดประสิทธิภาพ โรงพยาบาลพุทธชินราช 

      จรัล ใจแพทย์; ลิขิต อินทราลักษณ์; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย (2541)
      การพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารโดยใช้คอมพิวเตอร์ของโรงพยาบาลพุทธชินราช เป็นการวิจัยปฏิบัติการที่มุ่งวิเคราะห์ระบบข้อมูลของโรงพยาบาลและเสนอแนวทางการพัฒนาระบบให้สามารถนำไปใช้ในการบริหารโรงพยาบาลได้ โดยที่มีการประเมินด้วยว่าระบบข ...
    • ราคากลางผู้ประสบภัยจากรถโดยกลุ่มวิจัยโรคร่วม: จะได้ประโยชน์หรือ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai; ศุภชัย คุณารัตนพฤกษ์; Supachai Kunaratanapruk; ประดิษฐ์ วงษ์คณารัตนกูล; Pradit Wongkanaratakul; อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล; Anuwat Supachutikul; พรพัจน์ กิ่งแก้ว; Pornpat Kingkaew (2537)
      เงินเบี้ยประกันสำหรับการคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถมียอดไม่ต่ำกว่า 3,000 ล้านบาทต่อปี เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ของประเทศที่ให้โอกาสภาคเอกชนค้ากำไรเข้ามาบริหารกองทุนสาธารณะ ซึ่งบังคับให้เจ้าของรถทุกคันต้องจ่ายเบี้ยประกัน ...
    • วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2560 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; จรวยพร ศรีศศลักษณ์; สรชัย จำเนียรดำรงการ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)
      วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2560 มี 12 บทความ ประกอบด้วย 1. การใช้บริการผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน ในสถานพยาบาลประเภทต่างๆ ของประชากรไทย พ.ศ. 2558 โดย ชาฮีดา วิริยาทร และคณะ 2. การใช้บริการท ...
    • วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2560 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; จรวยพร ศรีศศลักษณ์; สรชัย จำเนียรดำรงการ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2560 มี 12 บทความ ประกอบด้วย 1. ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักศึกษาในเขตเมือง โดย นพพล วิทย์วรพงศ์ และคณะ 2. ความแตกต่าง ...
    • วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 11 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2560 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)
      วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 11 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2560 ประกอบด้วย บทความพิเศษ 1 บทความ คือ การดำเนินงานชุดโครงการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทยตามแผนปฏิบัติการการดื้อยาต้านจุลชีพขององค์การอนามัยโลก ...