Now showing items 95-114 of 1334

    • การจัดการความรู้กับการทำวิจัยในงานประจำ 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; Jaruayporn Srisasalux (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การจัดการความรู้และการวิจัยจากงานประจำ กิจกรรมงานวิจัยจากงานประจำ (routine to research; R2R) สามารถใช้การจัดการความรู้ (knowledge management; KM) เป็นเครื่องมือช่วยให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ได้ โดยจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ...
    • การจัดการความเสี่ยงด้านสุขภาพและความปลอดภัยของแรงงานจากอุตสาหกรรมขนาดเล้กในชนบท กรณีศึกษาโรงงานเฟอร์นิเจอร์ไม้ 

      วิชัย ผลิตนนท์เกียรติ; Vichai Palitnondakiat; เสกสรร อรรควาไสย์; Seksan Akkawasai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การประกอบกิจการอุตสาหกรรมขนาดเล็กในพื้นที่ชนบทมีปัญหาและข้อจำกัดในการเข้าถึงบริการส่งเสริมสุขภาพของรัฐค่อนข้างมาก ประกอบกับมีการนำอุปกรณ์และสารเคมีที่มีความไม่ปลอดภัยสูงมาใช้ในกระบวนการผลิตเป็นจำนวนมาก การศึกษานี้ศึกษาเฉ ...
    • การจัดการนโยบายสาธารณะและปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพของเทศบาลสามระดับในประเทศไทย 

      ฐิติภรณ์ ตวงรัตนานนท์; Titiporn Tuangratananon; ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ธีรพงษ์ คำพุฒ; Teerapong Khamput; นิธิวัชร์ แสงเรือง; Nithiwat Saengruang; หทัยรัตน์ โกษียาภรณ์; Hathairat Kosiyaporn; อานนท์ กุลธรรมานุสรณ์; Anond Kulthanmanusorn; จิราภรณ์ กมลรังสรรค์; Jirapron Kamonrungsan; กิตติพงษ์ ภัสสร; Kittipong Patsorn; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-09)
      การจัดการปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพเป็นการส่งเสริมสุขภาพประชาชนที่ต้นน้ำ โครงสร้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีส่วนเอื้อต่อการจัดการปัจจัยทางสังคม ด้วยการกำหนดรูปแบบการจัดการสุขภาพที่เหมาะสมกับประชาชนในพื้นที่ การศึกษานี้มีว ...
    • การจัดการระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิในเขตเมือง กรณีศึกษาจังหวัดนครราชสีมาและจังหวัดบุรีรัมย์ 

      วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; เอนก มุ่งอ้อมกลาง; Anek Mungaomklang; อังคณา สมนัสทวีชัย; Angkana Sommanustweechai; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)
      จังหวัดนครราชสีมาและจังหวัดบุรีรัมย์เป็นจังหวัดขนาดใหญ่ที่มีโรงพยาบาลศูนย์อยู่ในอำเภอเมืองโรงพยาบาลศูนย์นี้ต้องให้บริการทั้งผู้ป่วยในเขตอำเภอเมือง ในเขตจังหวัด และเขตพื้นที่ของจังหวัดอื่นที่อยู่ใกล้เคียง ทำให้มีภาระมาก ...
    • การจัดตั้งคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ ในโรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไป 

      วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-06)
    • การจัดตั้งเครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจที่รับยาต้านการแข็งตัวของเลือดในโรงพยาบาลชุมชนและศูนย์แพทย์ชุมชน จังหวัดนครราชสีมา 

      บัญชา สุขอนันตชัย; อุบลวรรณ สะพู; อรุณี ทรัพย์สินวิวัฒน์; วิจิน พงษ์ฤทธิ์ศักดา; นันทิยา ตั้งศรีเสรี; สิทธิพงษ์ กนกหงส์; Buncha Sukanantachai; Ubonwan Sapoo; Arunee Supsinwiwat; Wijin Pongrithsakda; Nuntiya Tangsriseree; Sittipong Kanokhong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-12)
      ที่มา:การดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจที่ใช้ยาต้านการแข็งตัวของเลือดในรูปแบบคลินิกวาร์ฟาริน พบว่าสามารถเพิ่มประสิทธิภาพและความปลอดภัยในการใช้ยาได้อย่างมีนัยสำคัญ แต่คลินิกส่วนใหญ่มีเฉพาะในโรงพยาบาลศูนย์หรือโรงพยาบาลทั่วไป ...
    • การจัดทำหลักเกณฑ์ราคาเบิกจ่ายยา: กรณีส่งต่อผู้ป่วยนอก/พิการ/อุบัติเหตุและฉุกเฉินของ สปสช. เขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร 

      ศิริพา อุดมอักษร; Siripa Udomaksorn; นุศราพร เกษสมบูรณ์; Nusaraporn Kessomboon; สุรฉัตร ง้อสุรเชษฐ์; Surachat Ngorsuraches; รุ่งเพ็ชร สกุลบำรุงศิลป์; Rungpetch Sakulbumrungsil; อินทิรา กาญจนพิบูลย์; Inthira Kanchanaphibool; ไพทิพย์ เหลืองเรืองรอง; Paithip Luangruangrong; กุลวดี ศรีพานิชกุลชัย; Kunwadee Sripanidkulchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-12)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำหลักเกณฑ์การกำหนดราคาเบิกจ่ายค่ายาผู้ป่วยนอกให้แก่สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติสาขาเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร เฉพาะกรณีส่งต่อ อุบัติเหตุ ฉุกเฉินและผู้พิการ การวิจัยนี้ใช้แนวคิดสำคัญ 3 ...
    • การจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ด้านการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน 

      กชพร อินทวงศ์; Kudchaporn Intravong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-09)
      จากการที่แนวโน้มของจำนวนผู้ป่วยเบาหวานเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆและกระบวนการดูแลผู้ป่วยเบาหวานยังไม่ครอบคลุมทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ผู้วิจัยจึงได้ทำการศึกษาเกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยเบาหวานแบบบูรณาการในเขตเทศบาลตำบลเชียงดาว ...
    • การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 

      อัจฉรา เนตรศิริ; สารศิริ อาจคงหาญ; วนิดา รุจจนเวท; สุภวาร มนิมนากร; รำไพ แก้ววิเชียร; Achara Netrasiri; Sarnsiri Artkongharn; Vanida Rujanawate; Supawan Manimanakorn; Rampai Kaewvichian (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-12)
    • การจัดบริการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 

      เจริญ เกียรติวัชรชัย; Charoen Kaitwatcharachai; สมถวิล เกียรติวัชรชัย; Somthawil Kaitwatcharachai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)
      โรคไตเรื้อรังเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ เนื่องจากมีผู้ป่วยจำนวนมากและค่าใช้จ่ายในการรักษาสูง บทบาทของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) คือ ค้นหาและคัดกรองกลุ่มเสี่ยง งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาและข้อจำ ...
    • การจัดบริการผู้บาดเจ็บของโรงพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 3 

      ณัฐกฤษฎ์ ธรรมกวินวงศ์; Nathakrid Thammakawinwong; สุเทพ สินกิตติยานนท์; นฤมล ปาเฉย; อรพรรณ มันตะรักษ์; ชนิดา เลิศพิทักษ์พงศ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      ปริมาณอุบัติเหตุทางถนน มีแนวโน้มสูงขึ้นส่งผลให้เกิดความสูญเสียทั้งชีวิตร่างกายตลอดจนทรัพย์สินอย่างประเมินค่ามิได้ สถิติการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน ขององค์การอนามัยโลก พบว่า ประเทศไทยมีอัตราการเสียชีวิต 38.1 ต่อแสนประชากร ...
    • การจัดบริการสุขภาพปฐมภูมิยุคนโยบายสามหมอในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย 

      เพ็ญนภา ศรีหริ่ง; Pennapa Sriring; ฉวีวรรณ ศรีดาวเรือง; Chaweewan Sridawruang; เตือนใจ ภูสระแก้ว; Thuanjai Poosakaew; พิทยา ศรีเมือง; Phitthaya Srimuang; รุจิราลักขณ์ พรหมเมือง; Ruchiralak Prommueang; ไพฑูรย์ พรหมเทศ; Paitoon Promthet; รัตน์ดาวรรณ คลังกลาง; Ratdawan Klungklang; ปณิตา ครองยุทธ; Panita Krongyuth; รุจี จารุภาชน์; Rujee Charupash (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      ประชาชนไทยได้รับบริการสุขภาพปฐมภูมิแบบองค์รวมมาอย่างต่อเนื่อง การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อประเมินสถานการณ์บริการสุขภาพปฐมภูมิและระบุปัจจัยที่มีผลต่อการจัดบริการตามระบบสุขภาพที่พึงประสงค์ 7 ด้าน ได้แก่ การจัดบริการสุขภาพ ...
    • การจัดบริการสุขภาพให้แก่พนักงานในองค์กรขนาดใหญ่ 

      มานิตย์ ประพันธ์ศิลป์ (2540)
      การดูแลสุขภาพอนามัยแก่พนักงานในองค์กรขนาดใหญ่ นอกจากเป็นบริการที่จำเป็นที่จะต้องจัดขึ้นเพื่อให้เป็นไปตาม พ.ร.บ.แรงงานแล้ว ยังเป็นมาตรการสำคัญยิ่งในด้านการประกอบการและการอาชีวอนามัย เพื่อมุ่งจัดบริการด้านสุขภาพให้ครบแบบอง ...
    • การจัดบริการส่งเสริมสุขภาพผสมผสานระหว่างภาครัฐกับภาคีเครือข่ายด้านสุขภาพ อำเภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง 

      ชัยวัฒน์ จัตตุพร; Chaiwat Jattuporn; ประสงค์ ยมหา; Prasong Yomha; พิภพ เมืองศิริ; Pipob Muangsiri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      รูปแบบใหม่ในการจัดบริการส่งเสริมสุขภาพให้แก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมายเป็นการผสมผสานการทำงานระหว่างภาครัฐ กับ ภาคีเครือข่ายด้านสุขภาพ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการคือ 1. การดำเนินงานการจัดบริการส่งเสริมสุขภาพแนวใหม่ ...
    • การจัดระบบการแพทย์ฉุกเฉินตามเจตนารมณ์แห่งพระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2551 

      สุรจิต สุนทรธรรม; Surajit Sunthorntham (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      องค์ประกอบของระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ต้องมีการจัดองค์กร การรวมตัว และการประสานงาน เพื่อการดูแลผู้ป่วยให้ดีที่สุด คณะกรรมการการแพทย์ฉุกเฉิน (กพฉ.) และแพทย์ผู้อำนวยการระบบการแพทย์ฉุกเฉินต้องทำให้มั่นใจว่า องค์ประกอบที่จำเป็นแต ...
    • การจัดระบบบริการผู้ป่วยนอกแนวใหม่: แนวคิดและการปฏิบัติ 

      อรรถชัย ภูมาพันธ์; รัชนีกร ผงผ่าน; กิตติพงษ์ บุญลพ (2538)
      บทความชิ้นนี้ชี้ให้เห็นถึงการจัดระบบบริการผู้ป่วยนอกแนวใหม่ที่ให้ความสำคัญกับการแก้ไขปัญหาสุขภาพ โดยปรับระบบขั้นตอนของการบริการใหม่ด้วยการจัดบริการคัดกรองผู้ป่วยไว้เป็นอันดับแรก เพราะเป็นการบริการที่ผู้ให้บริการได้แสดงออ ...
    • การจัดลำดับความสำคัญของโรคหรือปัญหาสุขภาพที่ควรคัดกรองในประชากรไทย 

      ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; พัฒน์ศรี ศรีสุวรรณ; Patsri Srisuwan; ธนัญญา คู่พิทักษ์ขจร; Tanunya Koopitakkajorn; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; ลี่ลี อิงศรีสว่าง; Lily Ingsrisawang; เดช เกตุฉ่ำ; Det Kedcham; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; Kanitta Bundhamcharoen; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-09)
      การคัดกรองทางสุขภาพระดับประชากรเป็นการตรวจหาโรคหรือปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคในประชากรที่สุขภาพดี เพื่อป้องกันโรคหรือรักษาตั้งแต่ระยะเริ่มต้น การคัดกรองบางรายการในชุดสิทธิประโยชน์ด้านการคัดกรองทางสุขภาพขาดหลักฐานเรื่องประ ...
    • การจัดลำดับความสำคัญภาวะสุขภาพและโรคไม่ติดต่อของคนต่างด้าวในประเทศไทย 

      ศุภวรรธน์ เพิ่มผลสุข; Suppawat Permpolsuk; ธนพร บุษบาวไล; Thanaporn Bussabawalai; ดนัย ชินคำ; Danai Chinnacom; มณีโชติรัตน์ สันธิ; Maneechotirat Santi; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)
      ในปี 2547 กระทรวงสาธารณสุขได้มีการประกาศขายบัตรประกันสุขภาพให้คนต่างด้าวที่ไม่มีสิทธิในหลักประกันสุขภาพใดๆ โดยคนต่างด้าวที่ผ่านการตรวจสุขภาพจะได้รับอนุญาตให้ทำงานและซื้อบัตรประกันสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข ทั้งนี้ ...
    • การจัดหายาของโรงพยาบาลรัฐตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 

      วราวัลย์ จึงศิวะพรพงษ์; Warawan Chungsivapornpong; นิธิเจน กิตติรัชกุล; Nitichen Kittiratchakool; สุธาสินี คำหลวง; Suthasinee Kumluang; อรพรรณ อ่อนจร; Orapan Onjon; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09-30)
      พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2560 แทนระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 ที่ใช้อยู่เดิม ทั้งนี้ เพื่อให้การจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐ ...
    • การจัดเครือข่ายบริการสุขภาพเชิงพื้นที่เพื่อบรรเทาปัญหาการขาดแคลนบุคลากร 

      ทีปกร จิร์ฐิติกุลชัย; Theepakorn Jithitikulchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09-30)
      งานวิจัยนี้เป็นรายงานผลการวิเคราะห์เบื้องต้นของการจัดเครือข่ายบริการสุขภาพสำหรับกำลังคนด้านสุขภาพของโรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการขาดแคลนกำลังคนและการจัดเครือข่ายบริการสุขภาพ ...