Now showing items 1-20 of 1352

    • การวิจัยสาธารณสุขคืออะไรกันแน่ 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (2536)
      จากทฤษฎีมาสู่บทความเจาะลึก แยกแยะความแตกต่างระหว่างการวิจัยระบบสาธารณสุข การวิจัยอื่น กระบวนการและระเบียบวิธีการวิจัย ในการวิจัยระบบสาธารณสุข เพื่อภาพที่ชัดเจนยิ่งขึ้นของ "การวิจัยระบบสาธารณสุข"
    • การวิจัยระบบสาธารณสุขเพื่อการพัฒนา 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (2536)
      การวิจัยเพื่อแก้ปัญหาสาธารณสุข เน้นที่การศึกษาเพื่อเอาข้อมูลความรู้มาแก้ปัญหาและการแก้ปัญหานั้นต้องการผู้เกี่ยวข้องมากมาย ไม่ใช่บทบาทของนักวิชาการแต่เพียงฝ่ายเดียว และยังอาจรวมถึงชาวบ้านหรือกลุ่มเป้าหมายที่เราต้องการปรับ ...
    • การพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และการแพทย์ สาธารณสุขไทย 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangchroensathien (2536)
      มองภาพมุมกว้างถึงการพัฒนาของเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยกับผลกระทบต่อการพัฒนาทางการแพทย์และการสาธารณสุขตลอดจนแนวทางวางแผนแก้ปัญหาสำหรับอนาคต
    • การวิจัยกับการทำงาน 

      Somsak Chunharas; สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ (2537)
      บทความนี้เขียนเมื่อปี พศ. 2537 ชี้ให้เห็นถึงความจำเป็นของการวิจัยเพื่อใช้ในการพัฒนาการสาธารณสุขในทุกระดับและทุกพื้นที่ เพราะในความเป็นจริงไม่มีวิธีการหรือสูตรสำเร็จใดๆ ที่จะเหมาะสมกับทุกพื้นที่ทุกสถานการณ์ การวิจัยระบบสา ...
    • ก้าวต่อไปของการศึกษาด้านสาธารณสุขไทย 

      Prawes Wasi; ประเวศ วะสี (2537)
      บทความนี้เรียบเรียงจากคำบรรยายในการประชุมสัมมนาประเมินผลโครงการประสานความร่วมมือระหว่างสถาบันการศึกษากับระบบบริการสาธารณสุข เพื่อการพัฒนากำลังคน และระบบบริการสาธารณสุข จังหวัดขอนแก่น เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2536
    • การประเมินผลโครงการรณรงค์ให้ความรู้ในการเลือกซื้ออาหารและยา 

      Yongyout Kachondham; ยงยุทธ ขจรธรรม (2537)
      งานศึกษานี้เป็น External Evaluation สำหรับโครงการที่หน่วยงานในส่วนภูมิภาคดำเนินงานเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข ช่วงปี 2536 เพื่อให้ได้ข้อมูลสำหรับการตัดสินใจเกี่ยวกับโครงการและพัฒนาการดำเนินงานให้ดียิ่งขึ้น ...
    • การเปลี่ยนแปลงบทบาทของภาครัฐและภาคเอกชนในระบบสาธารณสุข 

      ดำรงค์ บุญยืน; Damrong Boonyoen (2537)
      ปัจจุบันกระแสความเปลี่ยนแปลงในยุคโลกานุวัตรเชี่ยวกรากมาก ระบบสาธารณสุขทั่วโลกก็ถูกกระทบรุนแรงตามไปด้วย ผู้เขียนได้นำเสนอปัญหาและประเด็นสำคัญเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของระบบสาธารณสุขในเชิงแนวคิด และกลวิธีสำคัญบางประการ ...
    • ทิศทางการวิจัยเพื่อการพัฒนาสถานีอนามัย 

      อำพล จินดาวัฒนะ; Amphon Jindawatthana (2537)
      งานศึกษานี้เป็น Documentary review ร่วมกับ Focus group discussion เมื่อปี พ.ศ. 2536 เพื่อกำหนดประเด็นและคำถามที่ควรทำวิจัยเกี่ยวกับสถานีอนามัย ที่นำเสนอนี้เป็นบทสรุปย่อสาระสำคัญ เอกสารฉบับสมบูรณ์จัดพิมพ์เผยแพร่โดย ...
    • คำปราศรัยของประธานาธิบดีคลินตันในการปฏิรูประบบบริการสาธารณสุข 

      วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat (2537)
      คำปราศรัยของประธานาธิบดีคลินตัน ในการปฏิรูประบบบริการสาธารณสุขของสหรัฐอเมริกา เสนอต่อที่ประชุมร่วมของรัฐสภา นายแพทย์ใหญ่สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข แปลและเรียบเรียง จากเอกสารการถอดเทปคำปราศรัยของประธานาธิบดีคลินตัน ...
    • การปฏิรูประบบสาธารณสุขของสหรัฐอเมริกา : บทเรียนสำหรับประเทศไทย 

      ศุภชัย คุณารัตนพฤกษ์; Supachai Kunaratanapruk; อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล; Anuwat Supachutikul (2537)
      บทความนี้เป็นการนำเสนอบทวิเคราะห์นโยบายการปฏิรูประบบบริการสาธารณสุขของสหรัฐอเมริกา โดยผู้วิเคราะห์ทั้ง 2 ท่าน ได้เสนอข้อคิดเห็นทางวิชาการในเชิงบทเรียนสำหรับประเทศไทย อย่างรอบด้านและน่าสนใจ
    • แผนสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (2537)
      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ได้จัดทำแผนของสถาบันฯ สำหรับปีงบประมาณ 2536-2539 ขึ้น ซึ่งมีสาระสำคัญปรากฏในบทคัดย่อสำหรับผู้บริหารที่นำเสนอนี้ เอกสารฉบับสมบูรณ์สามารถขอรับได้จากสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข
    • การใช้การวิจัยระบบสาธารณสุขเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจในระดับพื้นที่ 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (2537)
      เป็นความพยายามของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขที่จะส่งเสริมให้ผู้บริหารงานสาธารณสุขในพื้นที่ ได้ใช้งานวิจัยระบบสาธารณสุขเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งในการบริหารงานให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด สถาบันฯ ได้ให้การสนับสนุนโครง ...
    • ศักยภาพของภูมิปัญญาพื้นบ้านด้านการดูแลรักษาสุขภาพ 

      ยิ่งยง เทาประเสริฐ; ธารา อ่อนชมจันทร์ (2537)
      การวิจัยเชิงสังคมศาสตร์เรื่องนี้ เป็นการศึกษาศักยภาพของภูมิปัญญาพื้นบ้านด้านการดูแลรักษาสุขภาพของชาวบ้าน โดยได้แยกศึกษาเป็น 2 กรณี คือ การรักษากระดูกหักของหมอเมืองและการดูแลครรภ์ของชาวอาข่า ในจังหวัดเชียงราย การศึกษานี้ม ...
    • การวิจัยประเมินผลโครงการกระจายอำนาจของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (ตามพระราชบัญญัติอาหาร ยา ยาเสพติดให้โทษ เครื่องมือแพทย์ และพระราชกำหนดป้องกันการใช้สารระเหย) 

      สุจริต ศรีประพันธ์; อำพล จินดาวัฒนะ (2537)
      สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาร่วมกับสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขได้ทำการประเมินผลการกระจายอำนาจให้กับจังหวัดและอำเภอตามกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง การประเมินผลครั้งนี้เป็นการประเมินผลแบบมีส่วนร่วม ดำเนินการในช่วงปี พ.ศ. 2537 ...
    • ระบบยาของประเทศไทย บทวิเคราะห์เพื่อการพัฒนา 

      มรกต กรเกษม; สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ; นิตยา แย้มพยัคฆ์ (2537)
      ระบบยาเป็นระบบย่อยหนึ่งที่มีความสำคัญต่อระบบสาธารณสุข การวิเคราะห์ระบบยาอย่างรอบด้านโดยการสนับสนุนของสถาบันวิจัยสาธารณสุขไทยชิ้นนี้ ได้ให้ความรู้อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาระบบยาและระบบสาธารณสุขของไทยในอนาคตเป็นอย่างมาก ...
    • มิติทางสังคมของพฤติกรรมการใช้ถุงยางอนามัย การศึกษาเชิงคุณภาพกับหญิงบริการอาชีพพิเศษ กรณีศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่ 

      เพ็ญจันทร์ ประดับมุข (2537)
      นอกจากองค์ความรู้ด้านชีวการแพทย์แล้ว ความรู้ด้านสังคมศาสตร์นับว่ามีความสำคัญไม่น้อยในการแก้ปัญหาสาธารณสุข เพราะปัญหาสาธารณสุขมีส่วนเกี่ยวข้องกับเรื่องพฤติกรรมนุษย์อย่างแยกกันไม่ได้เลย การวิจัยนี้จึงเป็นแง่มุมหนึ่งทางด้าน ...
    • การใช้การวิจัยระบบสาธารณสุขเพื่อการสนับสนุนการตัดสินใจระดับพื้นที่ (2) : จังหวัดสมุทรปราการ 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (2537)
      ฉบับนี้เสนอบทสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้องในโครงการวิจัยระบบสาธารณสุขเพื่อการสนับสนุนการตัดสินใจในระดับพื้นที่ของจังหวัดสมุทรปราการ ซึ่งเป็นจังหวัดแรกที่ทำโครงการนี้ร่วมกับสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข
    • การแปรสภาพโรงพยาบาลของรัฐให้เป็นเอกชน: บทวิเคราะห์เชิงนโยบาย 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (2537)
      การจัดบริการสาธารณสุขของประเทศไทยจำเป็นต้องได้รับการทบทวนเพื่อปรับปรุงพัฒนา หรือปฏิรูปขนานใหญ่อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้อีกต่อไป บทวิเคราะห์เชิงนโยบายนี้จะเป็นส่วนหนึ่งสำหรับการผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างถูกทิศทางสำหรับอนาคตต่อไป
    • ราคากลางผู้ประสบภัยจากรถโดยกลุ่มวิจัยโรคร่วม: จะได้ประโยชน์หรือ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai; ศุภชัย คุณารัตนพฤกษ์; Supachai Kunaratanapruk; ประดิษฐ์ วงษ์คณารัตนกูล; Pradit Wongkanaratakul; อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล; Anuwat Supachutikul; พรพัจน์ กิ่งแก้ว; Pornpat Kingkaew (2537)
      เงินเบี้ยประกันสำหรับการคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถมียอดไม่ต่ำกว่า 3,000 ล้านบาทต่อปี เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ของประเทศที่ให้โอกาสภาคเอกชนค้ากำไรเข้ามาบริหารกองทุนสาธารณะ ซึ่งบังคับให้เจ้าของรถทุกคันต้องจ่ายเบี้ยประกัน ...
    • สถานการณ์ชีวิตและพฤติกรรมการรักษาตนเองของผู้ป่วยเบาหวาน 

      เพ็ญจันทร์ ประดับมุข; ลือชัย ศรีเงินยวง; Penchan Pradubmook; Leuchai Sringern-yuang (2537)
      "การรักษาโรค" ถ้าหมกมุ่นแต่เพียงการใช้วิทยาการทางชีวการแพทย์ล้วน ก็จะห่างจาก "การรักษาคน" เพราะยังมีมิติทางจิตวิญญาณ มิติทางความเป็นมนุษย์ และมิติทางสังคมเข้ามาเกี่ยวข้องอีกมาก งานวิจัยทางสังคมศาสตร์การแพทย์ชิ้นนี้เตือนใ ...