Now showing items 21-40 of 46

    • ความคิดเห็นของบุคลากรสาธารณสุขต่อยาจากสมุนไพรและนโยบายการส่งเสริมการใช้ยาจากสมุนไพรในสถานบริการสาธารณสุข 

      คัคนางค์ โตสงวน; ณัฏฐิญา ค้าผล; มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์; เนติ สุขสมบูรณ์; วันทนีย์ กุลเพ็ง; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Kakanang Tosanguan; Nattiya Kapol; Montarat Thavorncharoensap; Neti Suksomboon; Wantanee Kulpeng; Sripen Tantivess; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-12)
      ประเทศไทยมีนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการสนับสนุนการใช้ยาจากสมุนไพรมาเป็นระยะเวลานานแต่มูลค่าและปริมาณการใช้ยาจากสมุนไพรในสถานพยาบาลก็ยังไม่บรรลุเป้าหมายที่ได้กำหนดไว้ ในการจะทำให้นโยบายประสบความสำเร็จนั้นมีความจำเป็นอย่างยิ่ ...
    • ความคิดเห็นของผู้ให้บริการและผู้รับบริการที่มีต่อการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลให้แก่องค์การบริหารส่วนจังหวัด 

      กฤษฎา เจริญรุ่งเรืองชัย; Kridsada Chareonrungrueangchai; ชนิดา เอกอัครรุ่งโรจน์; Chanida Ekakkararungroj; ชญาพัช ราชาตัน; Chayapat Rachatan; เฌอริลิณญ์ ประทุมสุวรรณ์; Sherilyn Pratumsuwan; ธนายุต เศรณีโสภณ; Thanayut Saeraneesophon; ณชวิศ กิตติบวรดิฐ; Nachawish Kittibovorndit; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-03)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจความคิดเห็นของผู้ให้บริการ และประชาชนในพื้นที่ที่มีการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) ไปยังองค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) ในระยะ 3 เดือนแรก โดยสำรวจความคิดเห็นผ่านการตอบแบบ ...
    • ความคุ้มค่าของการตรวจคัดกรองโรคไวรัสตับอักเสบบีในประเทศไทย 

      นริสา ตัณฑัยย์; Narisa Tantai; พิศพรรณ วีระยิ่งยง; Pitsaphun Werayingyong; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-12)
      โรคไวรัสตับอักเสบบีพบได้บ่อยในประชากรไทย เป็นสาเหตุสำคัญของตับแข็ง ตับวาย มะเร็งตับ ส่งผลต่อ คุณภาพชีวิต ค่าใช้จ่าย และทำให้ชีวิตสั้นลง ปัจจุบันไม่มีแนวทางคัดกรองระดับประชากรที่ชัดเจนและไม่มีการวิเคราะห์ความคุ้มค่าของการ ...
    • ความพึงพอใจของคนพิการต่อบริการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์และบริการอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการที่โรงพยาบาลของรัฐใน 8 จังหวัด 

      ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; แก้วกุล ตันติพิสิฐกุล; Kaewkul Tantipisitkul; ธีระ ศิริสมุด; Teera Sirisamutr; สุรเดช ดวงทิพย์สิริกุล; Suradech Doungthipsirikul; วันทนีย์ กุลเพ็ง; Wantanee Kulpeng; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; สุรชัย โกติรัมย์; Surachai Kotirum; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-10)
      ความพึงพอใจของผู้ป่วยต่อบริการสุขภาพเป็นผลมาจากประสบการณ์ตรง ในการได้รับบริการเปรียบเทียบกับความคาดหวังต่อการรับบริการ ซึ่งจะมีผลต่อการให้ความร่วมมือในการรับบริการนั้นๆ ผลจากการประเมินความพึงพอใจจะสามารถนำไปใช้ในการพัฒนา ...
    • ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ของการขาดงานและด้อยประสิทธิภาพการทำงานจากการบริโภคแอลกอฮอล์ 

      กรรณิการ์ ฐิติบุญสุวรรณ; Khannika Thitiboonsuwan; มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์; Montarat Thavorncharoensap; ชนิดา เลิศพิทักษ์พงศ์; Chanida Lertpitakpong; จอมขวัญ โยธาสมุทร; Jomkwan Yothasamut; อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินต้นทุนทางเศรษฐกิจจากการขาดงานและการสูญเสียประสิทธิภาพขณะทำงานจากการบริโภคแอลกอฮอล์ใน พ.ศ. 2550 โดยทำการสำรวจแบบภาคตัดขวางในประชากรไทย อายุ 15-60 ปี ที่มีงานทำในรอบ 7 วันก่อนการสำรวจ จาก ...
    • ต้นทุนประสิทธิผลของการตรวจคัดกรองผู้มีปัญหาการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ระดับประชากรในประเทศไทย 

      วริทธิ์ จันทรสถาพรจิต; Varit Chantarastapornchit; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-12)
      การดื่มแอลกอฮอล์เป็นปัจจัยสำคัญต่อภาระโรคในประชากรไทย โดยเฉพาะประชากรเพศชาย การคัดกรองผู้มีปัญหาจากการดื่มแอลกอฮอล์เพื่อให้คำแนะนำอย่างสั้นอาจช่วยลดปัญหานี้ได้ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ ...
    • ต้นทุนอรรถประโยชน์ของการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยเครื่องแมมโมแกรม ๑ ครั้งในชีวิตของผู้หญิงไทย 

      ธัญญรัตน์ อโนทัยสินทวี; Thunyarat Anothaisintawee; นริสา ตัณฑัยย์; Narisa Tantai; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-09)
      มะเร็งเต้านมเป็นมะเร็งที่พบได้บ่อยที่สุดในผู้หญิงไทย อุบัติการณ์ คือ 25.6 คนต่อผู้หญิงไทย 100,000 คนปัจจุบันมีเพียงการตรวจคัดกรองด้วยเครื่องแมมโมแกรมที่มีหลักฐานยืนยันว่าลดอัตราการตายจากมะเร็งเต้านม แต่ด้วยข้อจำกัดด้านงบประมาณ ...
    • บริการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการในมุมมองของผู้แทนองค์กรด้านคนพิการ ผู้ให้บริการและผู้กำหนดนโยบาย 

      แก้วกุล ตันติพิสิฐกุล; Kaewkul Tantipisitkul; ธีระ ศิริสมุด; Teera Sirisamutr; ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; สุรเดช ดวงทิพย์สิริกุล; Suradech Doungthipsirikul; วันทนีย์ กุลเพ็ง; Wantanee Kulpeng; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; สุรชัย โกติรัมย์; Surachai Kotirum; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-10)
      การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษามุมมองของผู้แทนองค์กรด้านคนพิการ ผู้ให้บริการและผู้กำหนดนโยบายต่อบริการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการในประเทศไทย เก็บข้อมูลตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึงเดือนมิถุนายน 2557 ...
    • ประสบการณ์ของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคธาลัสซีเมียชนิดรุนแรงที่ได้รับการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดเลือดในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยสองแห่งในกรุงเทพมหานคร 

      สุรชัย โกติรัมย์; พัทธรา ลีฬหวรงค์; กลีบสไบ สรรพกิจ; สุรเดช หงส์อิง; ยศ ตีระวัฒนานนท์; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Surachai Kotirum; Pattara Leelahavarong; Kleebsabai Sanpakit; Suradej Hongeng; Yot Teerawattananon; Sripen Tantivess (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)
      การศึกษาเชิงคุณภาพนี้ใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึกเพื่อศึกษาประสบการณ์ของผู้ดูแลหลักของผู้ป่วยโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียชนิดรุนแรงที่ได้รับการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดเลือดที่ประสบความสำเร็จในศูนย์ให้บริการปลูกถ่ายฯ 2 แห่ง ...
    • ประสิทธิผลและความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการตรวจคัดกรองมะเร็งต่อมลูกหมากในกลุ่มประชากรทั่วไป 

      คัคนางค์ โตสงวน; Kakanang Tosanguan; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-09)
      มะเร็งต่อมลูกหมากพบบ่อยในชายสูงอายุแถบประเทศตะวันตก การตรวจคัดกรองมี ๒ วิธีหลัก คือ การตรวจทางทวารหนัก และการตรวจเลือดหาสารชี้บ่งมะเร็งต่อมลูกหมาก PSA ปัจจุบันยังมีข้อถกเถียงเรื่องประโยชน์ โทษ และความคุ้มค่าของการคัดกรอง ...
    • ประสิทธิผลและความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของมาตรการคัดกรองสุขภาพเพื่อป้องกันอุบัติเหตุจราจรทางถนน 

      ชุติมา คำดี; Chutima Kumdee; กุณฑิกา ดำรงปราชญ์; Kuntika Dumrongprat; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-12)
      อุบัติเหตุทางถนนก่อให้เกิดความสูญเสียต่อสุขภาวะ ชีวิต และเศรษฐกิจเป็นลำดับต้นของประเทศไทย แต่ปัจจุบันไม่มีแนวทางประเมินความพร้อมด้านสุขภาพของผู้ขับขี่ การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนประสิทธิผลและความคุ้มค่าของนโยบ ...
    • ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดโรคอ้วนในกลุ่มนักศึกษาระดับปริญญาตรีในจังหวัดเชียงใหม่ 

      วรรณภา เล็กอุทัย; ลี่ลี อิงศรีสว่าง; เนติ สุขสมบูรณ์; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Wannapa Lekuthai; Lily Ingsrisawang; Naeti Suksomboon; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-09)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจสถานการณ์และวิเคราะห์ปัจจัยทางเศรษฐสังคม ปัจจัยทางเศรษฐศาสตร์ที่มีผลต่อการเกิดโรคอ้วนในกลุ่มนักศึกษาระดับปริญญาตรีในจังหวัดเชียงใหม่ ทำการศึกษาแบบภาคตัดขวาง รวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม ...
    • ปัญหาสุขภาวะเด็ก กฎหมาย/นโยบายที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคและการจัดลำดับความสำคัญปัญหาสุขภาวะเด็ก 0 - 5 ปี ในประเทศไทย 

      จอมขวัญ โยธาสมุทร; พิศพรรณ วีระยิ่งยง; นัยนา ประดิษฐ์สิทธิกร; สุทธิษา สมนา; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; ลัดดา เหมาะสุวรรณ; นิพรรณพร วรมงคล; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; สุชัญญา อังกุลานนท์; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Jomkwan Yothasamut; Pitsaphun Weerayingyong; Naiyana Praditsitthikorn; Sutthisa Sommana; Sripen Tantivess; Ladda Mo-suwan; Nipunporn Voramongkol; Kanittha Boonthamcharoen; Suchunya Aungkulanon; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-12)
      ระบบสุขภาพของประเทศไทยให้ความสำคัญกับการดำเนินงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคมาเป็นระยะเวลานาน แต่ยังเป็นการดำเนินการแบบแยกส่วน ส่งผลให้ขาดความร่วมมือ ทิศทาง และเป้าหมายของการดำเนินงานที่ชัดเจน หากดำเนินการแบบองค ...
    • ผลกระทบต่อค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพจากภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วนในประเทศไทย 

      ไพบูลย์ พิทยาเธียรอนันต์; รักมณี บุตรชน; จอมขวัญ โยธาสมุทร; วิชัย เอกพลากร; ยศ ตีระวัฒนานนท์; เนติ สุขสมบูรณ์; มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์; Paiboon Pitayatienanan; Rukmanee Butchon; Jomkwan Yothasamut; Wichai Aekplakorn; Yot Teerawattananon; Naeti Suksomboon; Montarat Thavorncharoensap (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-09)
      ภาวะน้ำหนักเกิน (Overweight) และโรคอ้วนเป็นสาเหตุของโรคเรื้อรังสำคัญหลายชนิดที่ก่อให้เกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจเป็นจำนวนมาก ความชุกของโรคอ้วนในประชากรไทยมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ในปี พ.ศ. 2547 ภาวะน้ำหนักและโรคอ ...
    • ผลลัพธ์และปัจจัยที่มีผลต่อการเข้าถึงอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการในคนพิการทางการเคลื่อนไหว 

      วันทนีย์ กุลเพ็ง; Wantanee Kulpeng; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; สาริณี แก้วสว่าง; Sarinee Keawsawang; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-10)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลลัพธ์ในรูปของคุณภาพชีวิตและความสามารถในการดำรงชีวิตจากการเข้าถึงอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการ และศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเข้าถึงอุปกรณ์ฯ โดยทำการศึกษาเชิงการสังเกตในระหว่างมีนาคมถึงพฤษภาคม ...
    • ระบบสุขภาพที่พึงประสงค์ของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2576 

      อินทิรา ยมาภัย; Inthira Yamabhai; สุธาสินี คำหลวง; Suthasinee Kumluang; ชุติมา คำดี; Chutima Kumdee; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; พิศพรรณ วีระยิ่งยง; Pitsaphun Werayingyong; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-09)
      ระบบสุขภาพของประเทศไทยในปัจจุบันได้รับผลกระทบจากปัจจัยแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างต่อเนื่อง จึงมีความจำเป็นในการคาดการณ์อนาคตของประเทศเพื่อให้ทราบสถานการณ์สำคัญที่ต้องเผชิญในอนาคตและรับมือหรือใช้ประโยชน์จากปัจจัยเหล่านั้น ...
    • รูปแบบบริการให้คำปรึกษาและตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มประชากรทั่วไป 

      วรัญญา รัตนวิภาพงษ์; Waranya Rattanavipapong; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-12)
      องค์กรในต่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับเอชไอวี/เอดส์ได้ออกคำแนะนำสำหรับการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มประชากรทั่วไปจนถึงอายุ ๖๕ ปี เพื่อแก้ปัญหาและควบคุมสถานการณ์โรคเอดส์ แต่อุปสรรคและข้อท้าทาย คือ การถูกตีตรา การถูกแบ่งแยก ...
    • สถานการณ์ ปัจจัยส่วนบุคคลและครัวเรือนที่มีความสัมพันธ์กับความพิการของเด็ก 

      รักมณี บุตรชน; Rukmanee Butchon; สุรเดช ดวงทิพย์สิริกุล; Suradech Doungthipsirikul; ศุภวรรธน์ เพิ่มผลสุข; Suppawat Permpolsuk; Saudamini Vishwanath Dabak; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-03)
      คนพิการส่วนใหญ่มีความยากลำบากในการดำเนินชีวิต โดยเฉพาะเด็กซึ่งมักจะต้องเผชิญกับการเลือกปฏิบัติและการจำกัดการเข้าถึงบริการทางสังคม แม้จะพบว่าความพิการในเด็กจะมีผลกระทบต่อพัฒนาการ ต่อครอบครัวและต่อเศรษฐกิจ แต่ข้อมูลที่สำคั ...
    • สถานการณ์การจัดบริการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์สำหรับคนพิการในโรงพยาบาลของรัฐ 

      สุรเดช ดวงทิพย์สิริกุล; Suradech Doungthipsirikul; ธีระ ศิริสมุด; Teera Sirisamutr; สุรชัย โกติรัมย์; Surachai Kotirum; ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; แก้วกุล ตันติพิสิฐกุล; Kaewkul Tantipisitkul; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-10)
      การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ เป็นการสร้างเสริมสมรรถภาพหรือความสามารถของคนพิการให้ดีขึ้น หรือดำรงสมรรถภาพหรือความสามารถเดิมที่มีอยู่ไว้ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจสถานการณ์การจัดบริการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์สำห ...
    • เติมเต็มช่องว่างทางความรู้ เพื่อนำไปสู่ระบบสุขภาพที่พึงประสงค์ : ทางเลือกงานวิจัยด้านสุขภาพในอนาคต 

      ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; อินทิรา ยมาภัย; Inthira Yamabhai; สุธาสินี คำหลวง; Suthasinee Kumluang; ชุติมา คำดี; Chutima Kumdee; ธนพร บุษบาวไล; Thanaporn Bussabawalai; พิศพรรณ วีระยิ่งยง; Pitsaphun Werayingyong; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-09)
      โครงการจัดลำดับความสำคัญหัวข้อวิจัยด้านสุขภาพสำหรับประเทศไทยมีวัตถุประสงค์หลักที่จะพัฒนาแนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการวิจัยด้านสุขภาพเพื่อให้สามารถบรรลุเป้าประสงค์ที่กำหนดไว้ สิ่งสำคัญประการหนึ่งที่จะช่วยให้ระบบสุขภาพไทย ...