• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
Articles เลือกตามชื่อเรื่อง 
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Articles
  • Articles เลือกตามชื่อเรื่อง
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Articles
  • Articles เลือกตามชื่อเรื่อง
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Articles เลือกตามชื่อเรื่อง

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 695-714 จาก 1372

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • ชุดสิทธิประโยชน์การจ้างงานลูกจ้างชั่วคราวเพื่อจูงใจบุคลากรในระบบบริการสุขภาพภาครัฐ 

      นงลักษณ์ พะไกยะ; อภิชาติ จันทนิสร์; สัญญา ศรีรัตนะ; กฤษฎา ว่องวิญญู; จิราภรณ์ หลาบคำ; วรางคณา วรราช; Nonglak Pagaiya; Apichart Chantanitr; Sanya Sriratana; Krisada Wongwinyou; Chiraporn Lapkom; Warangkhana Worarat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)
      สถานการณ์ความต้องการบริการสุขภาพที่เพิ่มขึ้นเป็นเหตุให้ระบบบริการสุขภาพมีความต้องการกำลังคนมากขึ้น นโยบายการลดกำลังคนภาครัฐส่งผลให้ระบบบริการของกระทรวงสาธารณสุขเผชิญปัญหาการขาดแรงจูงใจกำลังคนเข้าสู่ระบบสุขภาพ การศึกษานี้ ...
    • ชุมชนวิชาการ : บทเรียนจากพื้นที่ 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (2551-12-04)
      บทความนี้ได้สรุปจากการประชุมเชิงปฏิบัติการ "การใช้การวิจัยระบบสาธารณสุขเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจในระดับพื้นที่" เมื่อวันที่ 26-27 มกราคม 2537 ณ โรงแรมกรุงศรีริเวอร์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จัดโดยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ...
    • ช่วงชั้นทางสังคม ความไม่เท่าเทียมกันทางสังคม และการอธิบายถึงความเป็นประชากรกลุ่มเปราะบางในสังคม 

      นิสาพร วัฒนศัพท์; Nisaporn Wattanasupt; ฐานิดา บุญวรรโณ; Thanida Boonwanno; ศิวาภรณ์ ไชยเจริญ; Siwaporn Chaicharoen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-12)
      บทความนี้มีเป้าหมายที่จะใช้มโนทัศน์ช่วงชั้นทางสังคมมาอธิบายความไม่เท่าเทียมกันทางสังคม เพื่อทำความเข้าใจว่าใครคือประชากรกลุ่มเปราะบางในสังคม โดยใช้การทบทวนวรรณกรรมในส่วนของแนวคิด/ทฤษฎีทางสังคมศาสตร์ที่ใช้อธิบายและจัดช่วง ...
    • ช่วงเวลา เหตุผล และปัจจัยในการเริ่มต้นนมผงช่วง 6 เดือนแรกหลังคลอด 

      นิศาชล เศรษฐไกรกุล; Nisachol Cetthakrikul; กิติพร ทัพศาสตร์; Kitiporn Tupsart (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-06)
      ช่วง 6 เดือนแรกของชีวิตเป็นช่วงเวลาสำคัญที่ทารกควรได้กินนมแม่อย่างเดียวเพื่อให้ทารกได้รับประโยชน์และภูมิคุ้มกันสูงสุดจากน้ำนมของแม่ อย่างไรก็ตาม มีเด็กจำนวนมากได้กินนมผงในช่วงเวลาดังกล่าวด้วย การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื ...
    • ช่องว่างทางนโยบายในการควบคุมและป้องกันปัจจัยเสี่ยงโรคไม่ติดต่อในสถานที่ทำงานของประเทศไทย 

      กมลพัฒน์ มากแจ้ง 1,2; Kamolphat Markchang 1,2; อรทัย วลีวงศ์ 1; Orratai Waleewong 1; ธนพันธ์ สุขสอาด 3; Thanaphan Suksa-ard 3; พเยาว์ ผ่อนสุข 4; Payao Phonsuk 4; สุภิกา เชื้อจิ๋ว 1; Supika Chuejew 1 (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-06)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาช่องว่าง อุปสรรคและความท้าทายในการควบคุมและป้องกันปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคไม่ติดต่อในสถานที่ทำงานของประเทศไทย โดยใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative research) การทบทวนเอกสารข้อแนะนำน ...
    • ช่องว่างและโอกาสในการควบคุมการตลาดอาหารและเครื่องดื่มของประเทศไทย ตามชุดข้อเสนอแนะขององค์การอนามัยโลกว่าด้วยเรื่องการทำการตลาดอาหารและเครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอล์ในเด็ก 

      นงนุช ใจชื่น; Nongnuch Jaichuen; วาทินี คุณเผือก; Watinee Kunpeuk; สิรินทร์ยา พูลเกิด; Sirinya Phulkerd; ทักษพล ธรรมรังสี; Thaksaphon Tammarungsi (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-09)
      การทำการตลาดและการโฆษณาอาหารและเครื่องดื่มที่มีน้ำตาล ไขมันและเกลือสูงเป็นปัจจัยแวดล้อมสำคัญที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารและสุขภาพของเด็ก การประชุมสมัชชาอนามัยโลกปีพ.ศ.2553 ได้มีมติรับรองชุดข้อเสนอแนะว่าด้วยเรื่อ ...
    • ช่องว่างในการควบคุมกฎหมายควบคุมเครื่องดื่มที่มีปริมาณแอลกอฮอล์ไม่เกิน 0.5 ดีกรีและกลยุทธ์ของธุรกิจน้ำเมา 

      ไพศาล ลิ้มสถิตย์; Paisan Limstit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-03)
      บทความกฎหมายควบคุมเครื่องดื่มที่มีปริมาณแอลกอฮอล์ไม่เกิน 0.5 ดีกรี ของประเทศไทยและต่างประเทศ โดย นงนุช ใจชื่น และคณะ มีเนื้อหาน่าสนใจ แต่ยังขาดข้อมูลสำคัญ คือ ผลกระทบที่เกิดขึ้นทั้งทางตรงและทางอ้อมจาการควบคุมเครื่องดื่มท ...
    • ซีโรทัยป์และการดื้อยาของเชื้อซัลโมเนลล่าที่แยกได้จากอุจจาระและเลือดของผู้ป่วยจังหวัดตรัง พัทลุง และสงขลา 

      สุภาภรณ์ นิยมแก้ว; Supaporn Niyomkaew; พรเพ็ญ สังยวน; Pornpen Sangyuan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-06)
      ซีโรทัยป์ (Serotype) ของเชื้อซัลโมเนลล่า (Salmonella spp.) ที่แยกได้จากอุจจาระและเลือดของผู้ป่วยในโรงพยาบาลภายในจังหวัดตรัง พัทลุงและสงขลาจำนวน ๕๑๗ ตัวอย่าง เป็นเพศหญิง : เพศชาย เท่ากับ ๑ : ๐.๙๘ อายุตั้งแต่แรกเกิดถึง ๘๘ ...
    • ฐานข้อมูลการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ : การพัฒนาและการใช้ประโยชน์ 

      ณัฏฐิญา ค้าผล; ระพีพรรณ ฉลองสุข; เยาวลักษณ์ อ่ำรำไพ; สุรสิทธิ์ ล้อจิตรอำนวย; ผกามาศ ไมตรีมิตร; น้ำฝน ศรีบัณฑิต; Nattiya Kapol; Rapeepun Chalongsuk; Yaowalak Amrumpai; Surasit Lochid-amnuay; Pagamas Maitreemit; Namfon Sribundit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-06)
      การประเมินเทคโนโลยีทางด้านการแพทย์เป็นเครื่องมือที่สำคัญสำหรับผู้กำหนดนโยบายในการจัดสรรทรัพยากรทางการแพทย์อย่างมีประสิทธิภาพ อย่างไรก็ตามปัญหาในการเข้าถึงงานวิจัยและความรู้ความเข้าใจในงานด้านการประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ ...
    • ฐานคติของแพทย์และสถาบันการแพทย์ 

      ทวีทอง หงษ์วิวัฒน์; Thavitong Hongvivatana (2537)
      บทความนี้ได้นำเสนอในการประชุมวิชาการเรื่องพฤติกรรมสุขภาพ ครั้งที่ 4 "สังคมวัฒนธรรมกับสุขภาพ" ระหว่างวันที่ 24-27 พฤษภาคม 2537 ที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ หาดใหญ่ เป็นเสมือนกระจกเงาส่องให้กับวิชาชีพแพทย์ การดูตัวเองในกระจ ...
    • ดอกไม้ในพายุ : กรณีศึกษาประสบการณ์ของผู้หญิงที่ถูกกระทำความรุนแรงซ้ำซากในครอบครัว 

      บุษบงก์ วิเศษพลชัย; Bussabong Wisetpholchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-09)
      งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาถึงการผลิตซ้ำของความรุนแรงและรูปแบบการต่อต้านขัดขืนของผู้ถูกกระทำเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกและการสังเกตแบบมีส่วนร่วม โดยมุ่งตอบคำถามที่สำคัญคือ การผลิตซ้ำดำรงอยู่ในบร ...
    • ดัชนีชี้วัดธรรมาภิบาลของหน่วยบริหารจัดการงานวิจัยในระบบสุขภาพ : กรณีศึกษาสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข 

      เดชรัต สุขกำเนิด; รุ่งทิพย์ สุขกำเนิด; Decharut Sukkumnoed; Rungthip Sukkumnoed (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-03)
      โครงการพัฒนาดัชนีชี้วัดธรรมาภิบาลหน่วยบริหารจัดการงานวิจัยในระบบสุขภาพเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาระบบบริหารจัดการงานวิจัยของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขและเครือข่าย เพื่อกำหนดกรอบการติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานตามหลักธรรมาภิบาล ...
    • ดัชนีราคาค่าแรงแพทย์ในประเทศไทย 

      พัฒนาวิไล อินใหม; Phatthanawilai Inmai; พุดตาน พันธุเณร; Pudtan Phanthunane; ถาวร สกุลพาณิชย์; Thaworn Sakunphanit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำและพัฒนาดัชนีราคาค่าแรงแพทย์ในประเทศไทย ทั้งในภาครัฐและเอกชน ดัชนีราคาค่าแรงถูกพัฒนาอย่างต่อเนื่องในต่างประเทศ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์และแคนาดาในการตรวจวัดต้นทุนค่าแรง ...
    • ดูหน้ารู้โรค : สิย์เทมิค ลูปัส อีรีย์เธมาโทสัส 

      สุรพล อิสรไกรศีล; Surapol Issaragrisil (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-06)
    • ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานเติมยาตามใบสั่งยาของเครือข่ายร้านยาจังหวัดลำพูน 

      ปฐวี เดชชิต; Patawee Detchit; นภัสสร หลำรอด; Napatsorn Lhamrod; กฤษกร ธนไพโรจน์; Krissakorn Thanapairoj; สรัญญา สุนันต๊ะ; Saranya Sunanta; นันทวรรณ กิติกรรณากรณ์; Nantawarn Kitikannakorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)
      โครงการลดความแออัดและการรอคอยรับยาที่โรงพยาบาลให้ผู้ป่วยสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเลือกรับยาโรคเรื้อรังต่อเนื่องได้ที่ร้านยาแผนปัจจุบันประเภท 1 ได้ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2562 การประเมินผลการดำเนินงานในระยะที่ผ่านมาพบรา ...
    • ตัวชี้วัดและการเฝ้าระวังผลกระทบสุขภาพประชาชนในบริเวณโรงไฟฟ้าแม่เมาะ 

      ชัชวาลย์ จันทรวิจิตร; อะเคื้อ อุณหเลขกะ; ยุวยงค์ จันทรวิจิตร; Chudchawal Juntarawijit; Akeau Unahalekhaka; Yuwayong Juntarawijit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-12)
      โรงไฟฟ้าและเหมืองถ่านหินโรงไฟฟ้าแม่เมาะ อาจทำให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ แต่ในปัจจุบันยังไม่มีระบบเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนที่อาศัยในบริเวณใกล้เคียงโรงไฟฟ้า การศึกษานี้เพื่อกำหนดตัวชี้วัดและแนวทางก ...
    • ตัวแบบถดถอยลอจิสติกพหุคูณกับการคำนวณค่าอัตราส่วนออดส์ปรับค่า 

      อรุณ จิรวัฒน์กุล; Aroon Chirawatkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การเกิดโรคแต่ละโรคปรกติจะมีปัจจัยเสี่ยงหลายปัจจัย ค่าอัตราส่วนสัมพัทธ์ (relative ratio; RR) หรืออัตราส่วนออดส์ (odds ratio; OR) ที่คำนวณได้จากข้อมูลของแต่ละปัจจัยจะเป็นขนาดความเสี่ยงหยาบ ซึ่งขนาดความเสี่ยงที่คำนวณได้เกิด ...
    • ตัวแบบถดถอยลอจิสติกอย่างง่าย 

      อรุณ จิรวัฒน์กุล; Arun Chirawatkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      ตัวแบบถดถอยลอจิสติก เป็นสมการถดถอยรูปแบบหนึ่งที่ใช้แสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรตามที่ค่าตัวแปรจัดเป็น 2 กลุ่ม (dichotomy) เช่น เป็นโรค/ไม่เป็นโรค หาย/ตาย กับตัวแปรอิสระได้ทุกประเภท ทั้งตัวแปรนามสเกลที่มีค่าจัดได้ 2 กลุ่ม ...
    • ต้นฉบับบทความวิชาการ 

      สมชัย บวรกิตติ; Somchai Bovornkitti (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-06)
    • ต้นทุน-ประสิทธิผลของ Alendronate (ยาสามัญ) และ Risedronate (ยาต้นแบบ) สำหรับการป้องกันแบบปฐมภูมิของกระดูกหักในหญิงวัยหมดประจำเดือนที่มีปัจจัยเสี่ยง 

      ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; สุรัชดา กองศรี; ภาณุมาศ ภูมาศ; บัญญัติ สิทธิธัญกิจ; Thananan Rattanachotphanit; On-anong Waleekhachonloet; Surasak Chaiyasong; Suratchada Kongsri; Panumart Phumart; Bunyat Sitthithanyakit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-03)
      การศึกษานี้วิเคราะห์ต้นทุน-ประสิทธิผลของ Alendronate (ที่เป็นยาชื่อสามัญ) และ Risedronate (ที่เป็นยาต้นแบบ) ในการป้องกันแบบปฐมภูมิของการเกิดกระดูกหักในหญิงวัยหมดประจำเดือนที่มีปัจจัยเสี่ยง ได้แก่ ข้ออักเสบรูห์มาตอยด์, ใช้ ...

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)ประเภททรัพยากรนี้ปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [620]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [100]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [126]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [160]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1292]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [234]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [21]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV