Now showing items 748-767 of 1334

    • ธรรมนูญระบบสุขภาพแห่งชาติ : เครื่องมือปฏิรูประบบสุขภาพในมิติกฎหมาย 

      ไพศาล ลิ้มสถิตย์; Paisan Limstit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติตามพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 เป็นกรอบและแนวนโยบายยุทธศาสตร์และการดำเนินงานด้านสุขภาพของประเทศ กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ เป็นทิศทางระบบสุขภาพของประเทศที่จะทำให้ประชาชนมีสุขภาวะหรือสุข ...
    • ธรรมาภิบาลในการจัดการระบบสุขภาพ 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; Jaruayporn Srisasalux; เอื้องฟ้า สิงห์ทิพย์พันธุ์; Auengpha Singtipphun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-04)
      ธรรมาภิบาลในระบบการบริหารจัดการสุขภาพ เป็นกระบวนการหรือระบบที่องค์กรหรือประชาคมใช้ดำเนินการเพื่อให้เกิดระบบบริการสุขภาพที่ดี โดยมีหลักการสำคัญ ได้แก่ การมีส่วนร่วม หลักนิติธรรม ความโปร่งใส การสนองตอบความต้องการ ...
    • ธุรกิจโรงพยาบาลเอกชน ดิ้นสู้เงินบาทอ่อนตัว 

      บริษัท ศูนย์วิจัยกสิกรไทย จำกัด (2540)
      ธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนซึ่งเคยเฟื่องฟูในต้นทศวรรษ เป็น sun-rise industry เริ่มแผ่วเบาจนใกล้จะเป็น sun-set industry และคงจะถึงตะวันสิ้นแสงเมื่อเผชิญปัญหาเศรษฐกิจจากเงินบาทอ่อนตัวในปัจจุบัน บทความของศูนย์วิจัยกสิกรไทยนี้นับว่ ...
    • ธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนไทย พ.ศ. 2543-2546 : ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 

      ธเรศ กรัษนัยรวิวงค์; Tares Krassanairawiwong; เพ็ญแข ลาภยิ่ง; Phenkhae Lapying; ศิริเกียรติ เหลียงกอบกิจ; Sirikiat Liangkobkit; สมหญิง สายธนู; Somying Saithanu; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; Siriwan Pitayarangsarit; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Putthasri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อการเติบโตที่ยั่งยืนของธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนไทย โดยมีผลกระทบทางลบน้อยที่สุดต่อสาธารณสุขของประเทศ การศึกษาทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ ประกอบด้วยการวิเคราะห์เชิงพรรณนา 2 ...
    • นัยสำคัญของเส้นวาดเขียนเชิงศิลปกรรมบำบัด 

      เลิศศิริร์ บวรกิตติ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-10)
      บทความนี้แปลและเรียบเรียงจากบทที่ 13 ของหนังสือ Art as Therapy : Collected papers ของ Edith Kramer พิมพ์โดยสำนักพิมพ์ Athenaeum,Gateshead, Type and Wear, Great Britian; ค.ศ.2000 หน้า 146-165 อีดิธ เครเมอร์ ได้นำตัวอย่าง ...
    • นานาทัศนะและประสบการณ์ บนเส้นทางคุณภาพ 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (2539)
      ทีมกองบรรณาธิการได้พบปะกับนักวิชาการและนักบริหารซึ่งพยายามแสวงหาวิธีการและทดลองแนวความคิดต่างๆ ว่าจะทำให้บริการสุขภาพที่ตนรับผิดชอบอยู่นั้นดีกว่าที่เป็นอยู่ได้อย่างไร ความหลากหลายของวิธีการคิดและการทำงานเป็นความงดงามที่ส ...
    • นโยบายกับการวิจัย คู่สร้างคู่สมจริงหรือ (ตอน 1) 

      สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ (2541)
      คำถามที่มีผู้สนใจมากเป็นพิเศษก็คือ มีการวิจัยที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนานโยบายอยู่มากน้อยเพียงใด ซึ่งความจริงแล้ว งานวิจัยใดๆ ก็ตามที่ถูกผู้กำหนดนโยบายหยิบยกผลการวิจัยและข้อเสนอไปพิจารณาอย่างจริงจัง แม้จะไม่เห็นด้วย ...
    • นโยบายกิจกรรมทางกายในผู้สูงอายุ: การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ 

      อัจฉรา ปุราคม; Atchara Purakom; มาสริน ศุกลปักษ์; Masarin Sukolpuk; นิตยา แสงชื่น; Nittaya Sangcheun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-06-20)
      นโยบายกิจกรรมทางกายสำหรับผู้สูงอายุกลุ่มภาวะพฤฒพลังมีความสำคัญในระดับสากล รวมทั้งประเทศไทย ฐานข้อมูลเพื่อการกำหนดนโยบายกิจกรรมทางกายสำหรับผู้สูงอายุ จึงมีความจำเป็นในการกำหนดทิศทางการส่งเสริมกิจกรรมทางกายผู้สูงอายุกลุ่มภ ...
    • นโยบายด้านการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในกลุ่มเด็กอายุ 0-5 ปี ในประเทศสหรัฐอเมริกา 

      ศศิวรา บุญรัศมี; Sasivara Boonrusmee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-11)
      บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาในโครงการพัฒนานโยบายด้านการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในกลุ่มเด็กอายุ 0–5 ปีในประเทศไทย ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่าง ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย กรมอนามัย และโครงการประเมินเทคโนโลย ...
    • นโยบายด้านการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในกลุ่มเด็กอายุ 0-5 ปี ในไต้หวัน 

      รัชดา เกษมทรัพย์; นัยนา ณีศะนันท์; Rachada Kasemsup; Naiyana Neesanan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-03)
      ไต้หวันพัฒนานโยบายสร้างเสริมสุขภาพตามหลักการของ Ottawa Charter for Health Promotion รัฐบาลให้ความสำคัญกับระบบการให้บริการทางสาธารณสุขในระดับชุมชนและการประสานการทำงานระหว่างส่วนกลางกับส่วนภูมิภาค โครงการที่เกี่ยวข้องกับทา ...
    • นโยบายพรรคการเมืองด้านสุขภาพ ในการเลือกตั้งทั่วไปเดือนกรกฎาคม 2554 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; ฐิติมา นวชินกุล; สายศิริ ด่านวัฒนะ; Pongpisut Jongudomsuk; Thitima Nawachinkul; Saisiri Danwattana (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-09)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์นโยบายด้านสุขภาพของพรรคการเมืองต่างๆ ที่ได้เสนอเพื่อหาเสียงในการเลือกตั้งทั่วไปในวันที่ 3 กรกฎาคม 2554 โดยการทบทวนเอกสารทางการและข้อมูลที่เสนอผ่านสื่ออิเลคทรอนิกส์และสื่อมวลชนต่างๆ ...
    • นโยบายสุขภาวะเด็กอายุ 0-5 ปีในประเทศไทยกับบทเรียนที่น่าสนใจจากประเทศสหรัฐอเมริกา แคนาดา ญี่ปุ่น ไต้หวัน และประเทศในแถบตะวันออกกลาง 

      ลัดดา เหมาะสุวรรณ; นิพรรณพร วรมงคล; Ladda Mo-suwan; Nipunporn Woramongkol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-03)
      รายงานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์เชื่อมโยงงานวิจัยสองส่วนในโครงการพัฒนานโยบายด้านการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในกลุ่มเด็กอายุ 0-5 ปี โดยพิจารณารายการปัญหาสุขภาวะของเด็กกลุ่มอายุ 0-5 ปีที่ได้รับการจัดลำดับความสำคัญ ...
    • นโยบายและกฎหมายแอลกอฮอล์ ในประเทศ CLMV 

      กมลพัฒน์ มากแจ้ง; Kamolphat Markchang; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong; ฤชากร ไตรรัตนานุสรณ์; Ruechagorn Trairatananusorn; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; Siriwan Pitayarangsarit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-03)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ช่องว่างของมาตรการและกฎหมายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของประเทศกัมพูชา ลาว เมียนมาร์ และเวียดนาม (CLMV) ในการศึกษานี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้ยุทธศาสตร์ระดับโลกเพื่อลดการดื่มสุร ...
    • นโยบายและมาตรการที่เกี่ยวข้องกับสุขภาวะเด็ก 0-5 ปี ในตะวันออกกลาง 

      สินดี จำเริญนุสิต; Cindy Chamrernnusit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-12)
      การทบทวนนโยบายและมาตรการที่เกี่ยวข้องกับสุขภาวะเด็กอายุ 0-5 ปีในภูมิภาคตะวันออกกลางนั้น เป็นส่วนหนึ่งของโครงการพัฒนานโยบายด้านการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในกลุ่มเด็กอายุ 0-5 ปี โดยการสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุน ...
    • บทบรรณาธิการ 

      ธีระ รามสูต (2540)
    • บทบรรณาธิการ 

      ธีระ รามสูต (2551-12-04)
    • บทบาทของเครือข่ายปฐมภูมิในการคัดกรองและเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงโควิด-19 ใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ 

      วิไล อุดมพิทยาสรรพ์; Wilai Udompittayason; ปรียนุช ชัยกองเกียรติ; Preeyanuch Chaikongkiat; ดวงใจ เปลี่ยนบำรุง; Doungjai Plianbumroong; อัจฉรา มุสิกวัณณ์; Atchara Musigawan; ผุสนีย์ แก้วมณีย์; Pootsanee Kaewmanee; เขมพัทธ์ ขจรกิตติยา; Khemmapat Kajonkittiya; พิชญ์ชญานิษฐ์ เรืองเริงกุลฤทธิ์; Pichayanit Ruangroengkulrit; นุศรา ดาวโรจน์; Nutsara Dowrote; อนุชิต คลังมั่น; Anuchit Klangman; คอลิด ครุนันท์; Kholid Karunan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      การศึกษาวิจัยแบบผสมผสาน (mixed methods research) โดยใช้รูปแบบความสอดคล้องคู่ขนาน (convergent parallel design) เก็บข้อมูลการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพในพื้นที่จังหวัดยะลา ปัตตานีและนราธิวาส วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทขอ ...
    • บทบาทของแพทยสภาต่อโรงพยาบาลเอกชน บทสัมภาษณ์ นพ.ศุภชัย คุณารัตนพฤกษ์ 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (2540)
      ธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนที่เคยเบ่งบานเหมือนอรุณเบิกฟ้า (sun rise industry) อาจต้องซบเซาจากสภาวะถดถอยวิกฤติทางเศรษฐกิจ แต่บทบาทแพทยสภาและองค์กรที่เกี่ยวข้องในการควบคุมด้านจริยธรรมแพทย์, มาตรฐานบริการและค่าบริการ, การโฆษณา, ...
    • บทบาทของแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวในการป้องกันผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเกิดแผลกดทับ 

      เอกรัฐ จันทร์วันเพ็ญ; Ekarat Chanwanpen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินประสิทธิผลของการให้การดูแลผู้ป่วยอย่างเป็นองค์รวมและต่อเนื่อง ในการลดอุบัติการณ์ของแผลกดทับในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง โดยศึกษาอุบัติการณ์การเกิดแผลกดทับในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองทุกรายท ...
    • บทบาทวารสารวิชาการด้านการวิจัยระบบสาธารณสุข 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      บทบรรณาธิการวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 ก.ค.-ก.ย. 2558 ได้เคยประกาศความมุ่งมั่นจะทำให้วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ก้าวสู่วารสารในฐานข้อมูลของอาเซียน และวางวิสัยทัศน์ว่า “เป็นวารสารชั้นนำด้านการวิจัยระบบสุขภาพ ...