Browsing Articles by Title
Now showing items 1294-1313 of 1360
-
เครือข่ายร้านยา-โรงพยาบาลในระบบบริการสาธารณสุขแบบครบวงจร
(2541)คำว่า "ระบบบริการสาธารณสุขครบวงจร (Integrated Health Service System)" เป็นแนวคิดใหม่ที่เพิ่งเกิดขึ้นภายในทศวรรษนี้ หมายถึงรูปแบบบริการสาธารณสุขที่ประกอบด้วยบริการหลากหลาย ซึ่งจัดโดยหน่วยบริการหลายหน่วย แต่มีการประสานเชื่ ... -
เครือข่ายสถาบันวิจัยทางคลินิกที่เชื่อมโยงกับงานวิจัยพื้นฐาน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)การวิจัยพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ชีวภาพ เป็นฐานหนึ่งที่สำคัญของระบบการแพทย์และสาธารณสุข ข้อมูลและเทคโนโลยีที่ได้จากงานวิจัยพื้นฐานที่มีคุณภาพ จะเป็นเครื่องมือให้กับประเทศในการเผชิญกับปัญหาโรคอุบัติใหม่อย่างมีประสิทธิ ... -
เติมเต็มช่องว่างทางความรู้ เพื่อนำไปสู่ระบบสุขภาพที่พึงประสงค์ : ทางเลือกงานวิจัยด้านสุขภาพในอนาคต
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-09)โครงการจัดลำดับความสำคัญหัวข้อวิจัยด้านสุขภาพสำหรับประเทศไทยมีวัตถุประสงค์หลักที่จะพัฒนาแนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการวิจัยด้านสุขภาพเพื่อให้สามารถบรรลุเป้าประสงค์ที่กำหนดไว้ สิ่งสำคัญประการหนึ่งที่จะช่วยให้ระบบสุขภาพไทย ... -
เทคโนโลยีการตรวจวินิจฉัยด้วยภาพในประเทศไทย: สถานการณ์ปัจจุบัน ปัญหา และแนวทางแก้ไข
(2539)ประเทศไทยมีสถิติการใช้เทคโนโลยีชั้นสูงในการตรวจวินิจฉัยด้วยภาพค่อนข้างมาก แต่ยังไม่มีการประเมินความเหมาะสมของข้อบ่งชี้ในการตรวจ ไม่มีการประเมินว่าเราใช้เทคโนโลยีในการวินิจฉัยเกินความจำเป็นหรือไม่ ทำให้รัฐหรือผู้ป่วยเสียค ... -
เทคโนโลยีทางการแพทย์และการสาธารณสุข: บทเรียนบางด้านจากต่างประเทศ
(2539)เทคโนโลยีทางการแพทย์และการสาธารณสุข จะช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้นได้ ต้องเกิดจากการใช้เทคโนโลยีอย่างถูกต้องและเหมาะสม การพิจารณาเกี่ยวกับเทคโนโลยีนั้นจึงต้องคำนึงถึงปัจจัยหลายอย่าง ตั้งแต่ความปลอดภัย ผลการทำงาน ต้นทุน ... -
เบาหวานในไทย : บทเรียนจากนโยบายของประเทศพัฒนา
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)โรคเรื้อรังสำคัญเช่นเบาหวาน มีแนวโน้มความชุกและสร้างภาระโรคมากขึ้นในไทยและทั่วโลก ในการสำรวจพบผู้ที่ไม่รู้ว่าตัวเองเป็นโรคถึงร้อยละ 41 และควบคุมโรคได้เพียงร้อยละ 26 เท่านั้น คาดว่าหากมีผู้ป่วยรวม 3 ล้านคนในปี 2550 ... -
เปรียบเทียบการประเมินโรคขาดสารไอโอดีนและผลของการใช้มาตรการต่างๆ ในการควบคุมโรค อำเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี
(2540)บทความนี้ได้สะท้อนภาพของการดำเนินงานลดปัญหาโรคขาดสารไอโอดีนที่ได้จากการประเมินในพื้นที่ที่มีการระบาดสูง ซึ่งขึ้นอยู่กับเทคนิคการคลำคอที่ถูกต้องและมาตรการต่างๆ ที่ใช้ รวมทั้งการครอบคลุมของบริการและความต่อเนื่องของบริการ ... -
เปรียบเทียบการใช้บริการใส่ฟันเทียมของผู้สูงอายุไทยระหว่างปีพ.ศ.2552 กับปีพ.ศ.2556
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-03)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลการเข้าถึงบริการใส่ฟันเทียมของผู้สูงอายุไทยเปรียบเทียบระหว่างปี 2552 กับปี 2556 โดยใช้ฐานข้อมูลดิบ (raw data) ในการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ปี 2552 และ ปี 2556 ซึ่งดำเนินการเก ... -
เปรียบเทียบผู้ป่วยทำร้ายตนเองของโรงพยาบาลขาณุวรลักษบุรี และโรงพยาบาลคลองขลุง จังหวัดกำแพงเพชร พ.ศ. 2550
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)การศึกษาการฆ่าตัวตายสำเร็จของผู้ป่วยทำร้ายตนเองในอำเภอขาณุวรลักษบุรีและอำเภอคลองขลุง ในพ.ศ. 2550 มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบสถานภาพทั่วไป ปัจจัยเสี่ยงที่แตกต่างกัน โดยการวิเคราะห์ข้อมูลทุติยภูมิย้อนหลังจากรายงาน รง.506DS พ.ศ. ... -
เปรียบเทียบเตาเผามูลฝอยติดเชื้อระบบแก๊สกับเตาเผามูลฝอยติดเชื้อระบบน้ำมัน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพของเตาเผามูลฝอยติดเชื้อระบบแก๊สกับเตาเผามูลฝอยติดเชื้อระบบน้ำมันเชื้อเพลิง และเปรียบเทียบความคุ้มทุนด้านงบประมาณที่ใช้ในการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อระหว่างเตาเผา 2 ... -
เมื่อโลกเปลี่ยน โรคเปลี่ยน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551) -
เรียนรู้จากถ้อยแถลงของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ระบบสุขภาพที่ดียิ่งขึ้น ในการประชุมสมัชชาอนามัยโลก สมัยที่ 70
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-09)การประชุมสมัชชาอนามัยโลก สมัยที่ 70 ศาสตราจารย์คลินิก เกียรติคุณ นายแพทย์ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขไทยได้รับเชิญให้กล่าวถ้อยแถลง เรื่อง “การสร้างระบบสุขภาพที่ดียิ่งขึ้นในยุคของวาระการพัฒนาที่ยั่งยืน” ... -
เรียนรู้วิจัยระบบและนโยบายสุขภาพของไทยและโลกจากโควิด-19
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12)การระบาดของโรคโควิด-19 ที่เริ่มจากผู้ป่วยรายแรกที่เมืองอู่ฮั่น ประเทศจีน เดือนธันวาคม ค.ศ. 2019 ส่งออกเข้าสู่ไทยเป็นประเทศแรกเดือนมกราคม ค.ศ. 2020 จนถึงสิ้นปี มีผู้ติดเชื้อ 80 ล้านคน ใน 191 ประเทศ มีผู้เสียชีวิตทั้งสิ้น ... -
เศรษฐกิจพอเพียงกับโรงพยาบาลชุมชน : ประสบการณ์โรงพยาบาลร้องกวาง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)การศึกษาประเมินผลการดำเนินงานภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของโรงพยาบาลร้องกวางเพื่อประกอบการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง และสามารถปรับเปลี่ยนแนวทางการดำเนินงานให้เหมาะสมเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อผู้รับบริการ ผู้ให้บริการและโรงพยาบาล ... -
เศรษฐศาสตร์การเมืองของการป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)โรคไม่ติดต่อหรือ NCDs (non-communicable diseases) เป็นคำที่ใช้เรียกกลุ่มโรคที่ไม่ได้มีสาเหตุมาจากเชื้อโรค (non-infectious diseases) หรือไม่สามารถติดต่อกันได้ ทั้งนี้ โรคที่มารวมกันเป็น NCDs มีลักษณะของสาเหตุต่างๆ ร่วมกันคือ ... -
เศรษฐศาสตร์การเมืองระหว่างประเทศกับนโยบายการควบคุมยาสูบ: กรณีศึกษาสหภาพยุโรป ฝรั่งเศสและเยอรมนี
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)การควบคุมยาสูบเป็นประเด็นหนึ่งในด้านเศรษฐศาสตร์การเมืองระหว่างประเทศ แม้ว่าปัจจุบันจะมีกรอบอนุสัญญาว่าด้วยการควบคุมยาสูบ พ.ศ. 2546 เป็นกลไกในระดับโลกเพื่อควบคุมการระบาดยาสูบ แต่ระดับการควบคุมยาสูบของประเทศยังคงมีความแตกต ... -
เศรษฐศาสตร์การเมืองเรื่องบุหรี่
(2540)งานวิจัยเรื่องเศรษฐศาสตร์การเมืองเรื่องบุหรี่นี้ นับเป็นบทความที่หายากและมีคุณค่า น่าชมเชยทั้งสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขผู้ให้ทุนและผู้วิจัยที่ได้วิเคราะห์วิวัฒนาการ และบทบาทของปัจจัยทางเศรษฐกิจและการเมือง รวมทั้งผลกระทบต่ ... -
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับระบบสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)เนื้อหาในขอบเขตของเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับระบบสุขภาพนั้นเข้มข้นขึ้นในระยะสิบปีมานี้ มีทั้งส่วนที่เกี่ยวกับการตัดสินใจที่นำไปสู่ความสุขและสุขภาพ จากแนวคิดเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมเชื่อว่า มนุษย์ไม่ได้ตัดสินใจอย่างรอบ ... -
เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข-กลยุทธ์ใหม่ในการพัฒนาสาธารณสุข
(2537)เศรษฐศาสตร์เป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งสำหรับพัฒนาทางเศรษฐกิจ เศรษฐศาสตร์สาธารณสุขก็เป็นเครื่องมือที่สำคัญอย่างหนึ่งสำหรับการพัฒนาสาธารณสุข ผู้เขียนปูพื้นเรื่องนี้อย่างง่ายๆ โดยอาศัยข้อมูลจริงมาประกอบ แม้ว่าได้เขียนไว้นานพอสมควรแล้ว ... -
เส้นทางการเจ็บป่วยของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ในประเทศไทยและข้อเสนอเชิงเนื้อหาในการพัฒนากลยุทธ์การสื่อสารเพื่อลดจำนวนผู้ป่วยรายใหม่
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาเส้นทางการเจ็บป่วยของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และ (2) สังเคราะห์ข้อเสนอเชิงเนื้อหาเพื่อพัฒนากลยุทธ์การสื่อสารในการลดผู้ป่วยรายใหม่ ใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก ...