Now showing items 1232-1251 of 1334

    • สังเคราะห์บทเรียนการพัฒนาระบบส่งต่อคนไข้ภาคเหนือตอนบน 

      ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; ธรณี กายี; นเรนทร์ โชติรสนิรมิต; ยุทธศาสตร์ จันทร์ทิพย์; ศรีสกุล ทิพย์กมล; กรองกาญจน์ สุธรรม; วิศิษฎ์ ตั้งนภากร; รัศมี ตันศิริสิทธิกุล; Paibul Suriyawongpaisal; Toranee Kayee; Narain Chotirosniramit; Yuttasart Janthip; Srisakul Thipkamol; Krongkarn Sutham; Visit Tangnapakorn; Rassamee Tansirisithikul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)
      มีคำกล่าวว่า “คำทำนายอนาคตที่แม่นยำที่สุด คือ การสร้างอนาคตที่อยากเห็น” นั่นเอง บทสังเคราะห์ความรู้ฝังลึกและความรู้เชิงประจักษ์เกี่ยวกับการพัฒนาระบบส่งต่อผู้ป่วยในภาคเหนือตอนบนในรายงานนี้สะท้อนความพยายามของผู้เกี่ยวข้อง ...
    • สัดส่วน ลักษณะและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่สมเหตุผลในโรคติดเชื้อระบบทางหายใจส่วนบนเฉียบพลัน 

      ปัทมาสน์ เรือนเพ็ชร์; Pattamas Ruanpech; พิชญานนท์ งามเฉลียว; Pitchayanont Ngamchaliew (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-06)
      วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาสัดส่วน ลักษณะและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่สมเหตุผล ในโรคติดเชื้อระบบทางหายใจส่วนบนเฉียบพลัน ที่ศูนย์สุขภาพนักศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ระเบียบวิธีศึกษา: เป็นการศึกษาย้อนห ...
    • สัดส่วนงานของทันตแพทย์ผู้เชี่ยวชาญในโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข 

      วรารัตน์ ใจชื่น; Wararat Jaichuen; เทอดศักดิ์ อุตศรี; Terdsak Utasri; ธนศักดิ์ ถัมภ์บรรฑุ; Thanasak Thumbuntu (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-09)
      จำนวนทันตแพทย์ผู้เชี่ยวชาญมีเพิ่มขึ้นในประเทศไทยโดยเฉพาะอย่างยิ่งในกระทรวงสาธารณสุข แต่ยังขาดข้อมูลในแง่ลักษณะงานที่ทันตแพทย์ผู้เชี่ยวชาญต้องรับผิดชอบ การศึกษาเชิงพรรณนาแบบตัดขวางนี้จึงมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อสำรวจสัดส่วน ...
    • สัดส่วนเวลาการปฏิบัติงานของแพทย์เฉพาะทางโรงพยาบาลภาครัฐ กรณีศึกษา 8 โรงพยาบาล 

      ภาสกร สวนเรือง; Passakorn Suanrueang; อุทุมพร วงษ์ศิลป์; Utoomporn Wongsin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-12)
      การศึกษาสัดส่วนเวลาการปฏิบัติงานของแพทย์เฉพาะทาง ผู้ซึ่งปฏิบัติงานหลายหน่วยงานในสถานพยาบาลภายในประเทศไทย พบว่า หลักฐานที่มีการเผยแพร่เชิงประจักษ์ในเรื่องดังกล่าวนี้ยังมีน้อย ทั้งๆ ที่ข้อมูลสัดส่วนเวลาการปฏิบัติงานของแพทย ...
    • สาเหตุของการส่งเงินสมทบไม่ต่อเนื่องของผู้ประกันตนตามมาตรา 40: การศึกษาเชิงคุณภาพ 

      สายชล คล้อยเอี่ยม; Saichon Kloyiam (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-09)
      การศึกษาเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสาเหตุที่ทำให้ผู้ประกันตนตามมาตรา 40 ขาดส่งเงินสมทบหรือส่งเงินสมทบไม่ต่อเนื่อง โดยเก็บข้อมูล 2 วิธี คือ 1) การสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์กับอาสาสมัครแรงงานและเครือข่ายประกันสังคมตามมาตรา ...
    • สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาและราชบัณฑิตยสถานร่วมจัดโครงการวิชาการสนับสนุน มหาวิทยาลัยสุภานุวงศ์ ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 

      เปี่ยมศักดิ์ เมนะเศวต; รุจีพัชร โรจนกุล; สมชัย บวรกิตติ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) โดย ดร.สุเมธ แย้มนุ่น เลขาธิการ ได้จัดโครงการบริจาคหนังสือและตำราเรียนให้แก่มหาวิทยาลัยต่างๆ ในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เพื่อประโยชน์ทางวิชาการร่วมกัน สกอ.ได้ขอความร่วมมือจากสถ ...
    • สิทธิประโยชน์ด้านอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการของระบบประกันสุขภาพภาครัฐในประเทศไทย 

      ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; สุรชัย โกติรัมย์; Surachai Kotirum; ธีระ ศิริสมุด; Teera Sirisamutr; สุรเดช ดวงทิพย์สิริกุล; Suradech Doungthipsirikul; แก้วกุล ตันติพิสิฐกุล; Kaewkul Tantipisitkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-10)
      บริการอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการเป็นบริการที่จำเป็นอย่างยิ่งสำหรับคนพิการ ซึ่งเป็นประชากรกลุ่มหนึ่งที่มีแนวโน้มที่จะเพิ่มจำนวนมากขึ้น สิทธิประโยชน์และบริการดังกล่าวของคนพิการในประเทศไทยมีความไม่เท่าเทียมกันระหว่างระบบประก ...
    • สุขภาพของคนงานในโรงงานอุตสาหกรรม อำเภอจักราช จังหวัดนครราชสีมา 

      โชคชัย มานะธุระ; Chokchai Manatura (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การศึกษาเชิงพรรณนาด้านสุขภาพของคนงานในโรงงานอุดสาหกรรม 8 แห่งในอำเภอจักราช จังหวัดนครราชสีมา ในช่วงเดือนมีนาคม-พฤมภาคม 2550 เพื่อเก็บข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพด้านสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงของคนงาน 2,227 คน โดยใช้แบบสอบถามและกา ...
    • สุขภาพจิตของผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอชไอวี โรงพยาบาลโนนสะอาด จังหวัดอุดรธานี 

      สุทธิพงษ์ ปิ่นแก้ว; Suthipong Pinkaew (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การวิจัยเชิงพรรณนา โดยการสำรวจแบบภาคตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับสุขภาพจิตของผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอชไอวี โรงพยาบาลโนนสะอาด อำเภอโนนสะอาด จังหวัดอุดรธานี กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยที่มารับยาต้านเอชไ ...
    • สุขภาพจิตประชากรอายุ 15-59 ปี อำเภอละงู จังหวัดสตูล 

      ปวิตร วณิชชานนท์; Pawit Vanichanon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      สถิติประชาชนอายุ 15-59 ปี ไปรับบริการที่โรงพยาบาลละงู เนื่องจากปัญหาสุขภาพจิตมีแนวโน้มสูงขึ้น โดย พ.ศ.2547, 2548 และ 2549 มีอัตรา 3,219.54, 3,538.6 และ 4,625.00 ต่อประชากรแสนคนตามลำดับ จำนวนผู้ป่วยโรคซึมเศร้าและจากการฆ่า ...
    • สุขภาพประชาชนไทย: เรากำลังจะไปทางใด 

      ยงยุทธ ขจรธรรม (2551-12-04)
      การเปลี่ยนผ่านด้านต่าง ๆ ในประเทศไทย ส่งผลกระทบอย่างไรต่อสุขภาพของคนไทย จำเป็นจะต้องทบทวนให้รู้เท่าทันสถานการณ์ปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต เพื่อระบบสาธารณสุขให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
    • สุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่รอบเขตอุตสาหกรรมปิโตรเคมี 

      จันทร์ทิพย์ อินทวงศ์; สุนทร เหรียญภูมิการกิจ; ชาติวุฒิ จำจด; นัยนา พันโกฏิ; Chanthip Intawong; Sunthorn Rheanpumikankit; Chattiwut Chamchod; Naiyana Phankote (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาพรรณนาภาคตัดขวาง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสุขภาพ ระดับคุณภาพชีวิต และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับสุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชาชนกลุ่มตัวอย่าง 943 คน ที่อาศัยอยู่รอบเขตประกอบการอุตสาหกรรมปิโตรเคมีแ ...
    • ส่องกล้องมองกรมควบคุมโรคติดต่อ 

      พลเดช ปิ่นประทีป (2538)
      บทความนี้เป็นคำบรรยายของนายแพทย์พลเดช ปิ่นประทีม ผู้อำนวยการศูนย์กามโรคและโรคเอดส์ สำนักงานควบคุมโรคติดต่อเขต 9 พิษณุโลก ซึ่งบรรยายในช่วงการอภิปรายเรื่อง ส่องกล้องมองกรม ต. ในการประชุมวิชาการประจำปีของกรมควบคุมโรคติดต่อ ...
    • หลักการบัญญัติศัพท์วิชาการ 

      สมชัย บวรกิตติ; Somchai Bovornkitti (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-09)
    • หลักการและการประยุกต์ใช้คุณภาพชีวิตด้านสุขภาพ 

      สมชาย สุขสิริเสรีกุล (2539)
      คุณภาพชีวิตด้านสุขภาพที่ประชาชนในประเทศต่างๆ ต้องเผชิญอาจมีลักษณะเหมือนกัน แต่คุณค่าของคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพกลับแตกต่างกันไปได้ ซึ่งสืบเนื่องจากการให้คุณค่าของสังคมและประชาชนที่แตกต่างกันไป แต่ละประเทศจึงอาจดำเนินนโยบายส ...
    • หลักประกันทางด้านสุขภาพกับระบบบริการสาธารณสุขในอนาคต 

      สงวน นิตยารัมภ์พงศ์ (2538)
      บทความนี้วิเคราะห์ให้เห็นถึงปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างหลากหลายในโครงการต่างๆ ของระบบบริการสาธารณสุขในประเทศไทย รวมทั้งได้เสนอแนวทางในการพัฒนาและทางเลือกสำหรับหลักประกันทางด้านสุขภาพในอนาคตของประเทศไทย เพื่อให้สอดรับกับแนวโน้ม ...
    • หลักประกันสุขภาพกับการใช้บริการสุขภาพช่องปากในวัยทำงาน 

      วรารัตน์ ใจชื่น; Wararat Jaichuen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-03)
      การวิจัยเชิงพรรณนานี้ต้องการศึกษาสถานการณ์และรูปแบบการใช้บริการสุขภาพช่องปากของวัยทำงาน (15-59 ปี) ตามกลุ่มสิทธิประกันสุขภาพภาครัฐต่างๆ ซึ่งเป็นกลไกสำคัญในการเพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพตามความจำเป็น ใช้ข้อมูลจากการสำรวจ ...
    • หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเพื่อคนชายขอบผู้ไม่มีสัญชาติไทย 

      สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ; Supat Hasuwannakit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09)
      คนชายขอบผู้ไม่มีสัญชาติไทยประกอบด้วยคนไร้รัฐ แรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมืองและผู้ลี้ภัย รวมประมาณห้าแสนคนซึ่งยังไม่มีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ส่งผลต่อสถานะสุขภาพของคนชายขอบ มีการเข้าถึงบริการน้อยกว่าคนสัญชาติไทย 6 เท่า ...
    • หลักประกันสุขภาพแบบสิงคโปร์ 

      อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล (2538)
      บทความนี้เป็นอีกบทความหนึ่งที่เสนอแนวทางการแก้ปัญหาระบบบริการสุขภาพในประเทศไทยโดยชี้ให้เห็นถึงแนวคิดและรูปแบบการดำเนินงานด้านหลักประกันสุขภาพของประเทศสิงคโปร์ ซึ่งมีมุมมองในการแก้ปัญหาอีกรูปแบบหนึ่งและรูปแบบดังกล่าวอาจจะ ...
    • หลักสูตรใหม่เพื่อการศึกษาต่อเนื่องระดับปริญญาของทรัพยากรมนุษย์ทางสาธารณสุขระดับสถานีอนามัย โดยการเรียนการสอนในพื้นที่ 

      รวินันท์ ศิริกนกวิไล (2540)
      สถานีอนามัยนับเป็นด่านหน้าของระบบบริการสาธารณสุขท้องถิ่นที่จะช่วยให้เกิดการครอบคลุมบริการสาธารณสุขอย่างเป็นธรรม และบรรลุสุขภาพดีถ้วนหน้าตามเป้าหมาย รวมทั้งการเสริมภาวะพึ่งตนเองและมีส่วนร่วมของชุมชนด้านสุขภาพอนามัย ...