Now showing items 1289-1308 of 1334

    • เส้นทางสู่คุณภาพ 

      งามจิตต์ จันทรสาธิต (2539)
    • เหตุผลที่ควรถอดบุหรี่ออกจากการเจรจาการค้าเสรี 

      ริศาธัญญ์ จรุงศักดิ์เศรษฐ์; นิทัศน์ ศิริโชติรัตน์; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; Risatarn Jarungsuccess; Nithat Sirichotiratana; Siriwan Pitayarangsarit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-09)
      ข้อตกลงการค้าเสรีเกิดขึ้นจากความเชื่อว่า ควรจะปล่อยให้สินค้าที่มีคุณภาพดีกระจายไปทั่วโลกได้อย่างเสรี ปราศจากมาตรการกีดกันต่างๆ เพื่อที่คุณภาพชีวิตของประชาชนจะดีขึ้น และประเทศต่างๆจะมีความมั่งคั่งขึ้น แต่ยาสูบเป็นสินค้าที ...
    • เหตุใดคนเชียงใหม่เมื่อเกิดเจ็บป่วยฉุกเฉิน หรืออุบัติเหตุจึงไม่เรียกใช้บริการการแพทย์ฉุกเฉิน 

      ณัชชา หาญสุทธิเวชกุล; บริบูรณ์ เชนธนากิจ; บวร วิทยชำนาญกุล; Natcha Hansudewechakul; Boriboon Chenthanakij; Borwon Wittayachamnankul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)
      การเจ็บป่วยฉุกเฉินและอุบัติเหตุเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดความสูญเสียและเป็นสาเหตุการตายอันดับต้นของประชากรไทย การมีระบบการดูแลก่อนถึงโรงพยาบาลที่ดีจะช่วยลดอัตราการสูญเสียได้ กระทรวงสาธารณสุขจึงมีนโยบายให้โรงพยาบาลต่างๆ ...
    • แก๊สเรดอนกับภาวะโลกร้อน 

      ไพฑูรย์ วรรณพงษ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-12)
    • แนวคิดปัจจุบันของการเปิดเผยความผิดพลาดทางการแพทย์ 

      บุญศักดิ์ หาญเทอดสิทธิ์; Boonsak Hanterdsith (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)
      ในปัจจุบันปัญหาการร้องเรียนและฟ้องร้องแพทย์มีแนวโน้มมากขึ้น สาเหตุนำในการฟ้องร้องหรือร้องเรียนแพทย์นั้นมีจุดเริ่มต้นจากความเสียหายที่ผู้ป่วยหรือญาติได้รับในกระบวนการรักษาพยาบาล โดยมีทั้งความผิดพลาดที่ป้องกันได้และเป็นเหตุสุดวิสัย ...
    • แนวคิดและแนวทางปฏิบัติเพื่อตอบสนองต่อความต้องการด้านสุขภาพของประชากรกลุ่มเปราะบางในประเทศไทย 

      บวรศม ลีระพันธ์; Borwornsom Leerapan; ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; Paibul Suriyawongpaisal; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawat; วิชช์ เกษมทรัพย์; Vijj Kasemsup; นวนรรน ธีระอัมพรพันธุ์; Nawanan Theera-ampornpunt; ฉัตรชัย อิ่มอารมย์; Chatchai Im-Arom; รัศมี ตันศิริสิทธิกุล; Rassamee Tansirisithikul; วิชัย เอกพลากร; Wichai Aekplakorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-12)
      วัตถุประสงค์ : เพื่อถอดบทเรียนจากโครงการพัฒนาสุขภาพในชุมชนซึ่งตอบสนองความต้องการด้านสุขภาพของประชากรกลุ่มเปราะบาง สำหรับนำไปสังเคราะห์ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการพัฒนาระบบสุขภาพสำหรับประชากรกลุ่มเปราะบางในประเทศไทย ...
    • แนวคิดในการควบคุมโรคขาดสารไอโอดีนในประเทศไทย 

      รัชตะ รัชตะนาวิน (2539)
      เป้าหมายการลดอัตราคอพอกในเด็กนักเรียนให้เหลือไม่เกินร้อยละ 5 ภายในปลายปี 2539 ตามแผนการควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน อาจบรรลุผลได้ แต่การกำจัดโรคขาดสารไอโอดีนให้หมดจากประเทศไทย อาจจำเป็นต้องมีการปรับแนวคิดและนโยบายบางจุด ...
    • แนวทางการคัดกรองภาวะโลหิตจางระดับประชากรในประเทศไทย 

      ธนัญญา คู่พิทักษ์ขจร; Tanunya Koopitakkajorn; พัฒน์ศรี ศรีสุวรรณ; Patsri Srisuwan; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; ณภัชชา วงศ์ฉายา; Napatcha Wongchaya; สุพัชรินทร์ สุวรรณเกิด; Supatcharin Suwannakerd; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-09)
      ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กส่งผลกระทบต่อจิตใจ การเคลื่อนไหว และพฤติกรรม โดยเฉพาะในเด็กทารกแรกเกิดจนถึงอายุ ๒ ปี การรักษาด้วยการให้ธาตุเหล็กในภายหลังช่วยให้ระดับธาตุเหล็กเพิ่มขึ้น แต่ความล่าช้าของพัฒนาการยังคงอยู่ ...
    • แนวทางการคัดกรองโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะชนิด Atrial Fibrillation ระดับประชากรในประเทศไทย 

      พัฒน์ศรี ศรีสุวรรณ; Patsri Srisuwan; ธนัญญา คู่พิทักษ์ขจร; Tanunya Koopitakkajorn; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-09)
      โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะชนิด Atrial Fibrillation (AF) เป็นภาวะที่พบบ่อยที่สุดในภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะทั้งหมด และก่อให้เกิดผลแทรกซ้อนร้ายแรง ปัจจุบันยังไม่มีแนวทางการคัดกรองระดับประชากรในประเทศไทย และไม่มีการวิเคราะห์ถึงประโยชน์ ...
    • แนวทางการคัดกรองโรคหืดระดับประชากรในประเทศไทย 

      พัฒน์ศรี ศรีสุวรรณ; Patsri Srisuwan; ธนัญญา คู่พิทักษ์ขจร; Tanunya Koopitakkajorn; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-12)
      โรคหืดเป็นโรคที่มีอุบัติการณ์ ความชุกและภาระโรคสูงในประเทศไทย ในปัจจุบันยังไม่มีแนวทางการคัดกรองโรคหืดระดับประชากรในประเทศไทยที่ชัดเจน บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนแนวทางการคัดกรองโรคหืดระดับประชากร โดยแบ่งการดำเนินงานเป็น ...
    • แนวทางการคัดกรองโรคไตอักเสบและนิ่วในไตในประชากรไทย 

      พัฒน์ศรี ศรีสุวรรณ; Patsri Srisuwan; ธนัญญา คู่พิทักษ์ขจร; Tanunya Koopitakkajorn; เดช เกตุฉ่ำ; Det Kedcham; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-09)
      โรคไตอักเสบและโรคนิ่วในไตเป็นโรคที่พบบ่อยในคนไทยที่อาจก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนเรื้อรังและรุนแรง แต่ยังไม่มีแนวทางคัดกรองระดับประชากรที่ชัดเจน บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอแนวทางการคัดโรคไตอักเสบและโรคนิ่วในไตระดับประ ...
    • แนวทางการดูแลรับรองมาตรฐานโรงพยาบาลสำหรับผู้ประกันตนในโครงการประกันสังคม 

      สมเกียรติ ฉายะศรีวงศ์ (2540)
      การดูแลรับรองมาตรฐานโรงพยาบาล (Accreditation) สำหรับผู้ประกันตนในโครงการประกันสังคม เป็นเรื่องที่เป็นความหวังใหม่ของผู้ประกันตนและสำนักงานประกันสังคมที่จะให้โรงพยาบาลและคลินิกเครือข่ายที่สมัครขึ้นทะเบียนไว้กับสำนักงานประ ...
    • แนวทางการนำฐานข้อมูลสมรรถนะของคนพิการไปใช้ในการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการในชุมชน 

      ศิรินาถ ตงศิริ; Sirinart Tongsiri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-03)
      จากการจดทะเบียนคนพิการตั้งแต่ พ.ศ. 2537 ถึง กุมภาพันธ์ 2556 คนพิการในประเทศไทยมีจำนวนประมาณ 1.3 ล้านคน หลายหน่วยงานพยายามให้บริการเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ตามข้อกำหนดในอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิคนพิการขององค์ ...
    • แนวทางตรวจคัดกรองภาวะทุพโภชนาการระดับประชากรในประเทศไทย 

      สุทธิษา สมนา; Sutthisa Sommana; ธนัญญา คู่พิทักษ์ขจร; Tanunya Koopitakkajorn; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-12)
      บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์ด้านการคัดกรองทางสุขภาพระดับประชากรในประเทศไทยมีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนวรรณกรรม รวมถึงนโยบาย และเครื่องมือต่างๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ สำหรับการคัดกรองภาวะทุพโภชนากา ...
    • แนวทางและกลไกสนับสนุนการวิจัย 

      อภิรัต อรุณินท์; Aphirat Arunin (2537)
      บทความนี้นำเสนอให้เห็นว่าเหตุใดประเทศไทยจึงไม่สามารถใช้การวิจัยให้เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศได้อย่างเต็มที่ มีความจำเป็นที่จะต้องเร่งสนับสนุนอย่างครบวงจรตั้งแต่การสร้างนักวิจัย ไปจนถึงการใช้ผลงานวิจัย โดยความร่วมมือของทุกฝ่าย ...
    • แนวทางและบทเรียนจากงานประจำสู่งานวิจัย 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      R2R เป็นการค้นหาความจริงที่เกิดขึ้นในงานประจำข้อมูลที่แท้จริงจากการวิจัย นำไปสู่การปรับปรุงกระบวนการคุณภาพของการบริการในโรงพยาบาล หรือปรับปรุงการบริหารจัดการในหน่วยงานบริการ ลักษณะงาน R2R ประกอบด้วยองค์ประกอบ 4 เรื่อง 1. ...
    • แนวโน้มการบริหารการเงินของโรงพยาบาลในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข: การศึกษาเชิงคุณภาพ 

      พิทักษ์พล บุณยมาลิก; Pitakpol Boonyamalik; ธิดาจิต มณีวัต; Thidajit Maneewat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-12)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสาเหตุและปัจจัยในความสำเร็จ/การขาดทุน การขาดสภาพคล่องของการบริหารการเงินของโรงพยาบาล และ 2) เสนอแนวทางในการบริหารการเงินสำหรับโรงพยาบาล กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยผู้บริหารด้านการเงินระ ...
    • แนะนำบทความน่าสนใจ 

      สมชัย บวรกิตติ; Somchai Bovornkitti (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-06)
    • แบบแผนความไวต่อยาต้านจุลชีพในหลอดทดลองของเชื้อเบอโคลเดอเรีย สูโดมาลิอาย ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย 

      ภาวนา พนมเขต; Pawana Panomket; มารุตพงศ์ ปัญญา; Marutpong Panya; จิราพร นิลสกุล; Jiraporn Nilsakul; พิฐชญาณ์ พงศ์ธารินสิริ; Pitchaya Pongtarinsiri; ไกรสร บุญสาม; Krisorn Boonsam (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)
      เบอโคลเดอเรีย สูโดมาลีอายคือเชื้อสาเหตุของโรคเมลิออยโดสีส เซฟตาซิดิมเป็นยาที่ถูกเลือกใช้สำหรับรักษาโรคติดเชื้อนี้ แต่อัตราการตายก็พบสูงในพื้นที่ระบาดของโรค การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสืบสวนหาประสิทธิผลของยาปฏิชีวนะในห ...
    • แบบแผนรายจ่ายสุขภาพภาครัฐในแผนพัฒนาการสาธารณสุข ฉบับที่ 5-6-7 (พ.ศ. 2525-2539) 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; นวลอนันต์ ตันติเกตุ; พินทุสร เหมพิสุทธิ์; วงเดือน จินดาวัฒนะ (2541)
      จากการประเมินการจัดสรรงบประมาณของภาครัฐในด้านสาธารณสุข ตามแผนพัฒนาการสาธารณสุข ฉบับที่ 5-6-7 หรือในรอบ 15 ปีที่ผ่านมา (พ.ศ.2525-2539) ในภาพรวมพบว่า แผนฯ ฉบับที่ 5 ใช้งบประมาณ 44,509 ล้านบาท โดยเป็นงบประมาณในส่วนดำเนินการมากที่สุด ...