Now showing items 587-606 of 1334

    • ความเป็นธรรมในงานวิจัย: เรียนรู้จากสถานการณ์โควิด 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      บทบรรณาธิการฉบับนี้เป็นการค้นหามุมมองความเป็นธรรมในระบบงานวิจัยที่เกิดขึ้นในช่วงสถานการณ์โควิดที่เป็นโอกาสของการค้นหาความรู้และมีรายจ่ายที่เพิ่มขึ้นมากในการวิจัยค้นหาความรู้ รายจ่ายการวิจัยและพัฒนาประเทศไทยปี พ.ศ. 2563 ...
    • ความเร็วเป็นปัญหาความปลอดภัยบนถนนจริงหรือ 

      ไพบูลย์ สุริยวงศ์ไพศาล (2539)
      ความเร็วรถมีความสัมพันธ์โดยตรงกับความปลอดภัยบนท้องถนน ทุกประเทศจึงมีมาตรการจำกัดความเร็ว และมีวิธีบังคับใช้กฎหมายจำกัดความเร็วต่างๆ เช่น การใช้กำลังเจ้าหน้าที่ตรวจจับ เครื่องมืออัตโนมัติต่างๆ การออกแบบถนน การควบคุมกำลังเครื่องยนต์ ...
    • ความเสมอภาคในระบบบริการสุขภาพ 

      สมชาย สุขสิริเสรีกุล (2539)
      แนวความคิดเรื่องความเสมอภาคตามหลักเศรษฐศาสตร์ มี 3 หลักการ และแนวทางในการพิจารณาต่างๆ กัน ไม่ได้มีความหมายหนึ่งเดียวที่เป็นสากล ระบบบริการสุขภาพแต่ละประเทศต้องตัดสินใจถึงจุดประสงค์ของความเสมอภาคของตนเอง ที่สำคัญคือ ...
    • ความเสี่ยงโรคหลอดเลือดหัวใจในผู้ป่วยเบาหวานชนิดไม่พึ่งอินสุลิน โรงพยาบาลสังคม จังหวัดหนองคาย 

      บรรจบ อุบลแสน; Banchob Ubonsaen; รุจี พรชัย; Ruchee Pornchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      โรคหลอดเลือดหัวใจเป็นสาเหตุการตายที่สำคัญและพบบ่อยในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานชนิดไม่พึ่งอินสุลิน เป้าหมายการศึกษานี้คือทำการค้นหาปัจจัยเสี่ยงสำคัญและประเมินโอกาสเสี่ยงโรคหลอดเลือดหัวใจในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานชนิดไม่พึ่งอินสุลิน ...
    • ความเห็นในเรื่อง บทบาท หน้าที่ และกิจกรรมต่อบริการปฐมภูมิของร้านยาคุณภาพในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 

      วิวรรธน์ อัครวิเชียร; ธารินี อัครวิเชียร; ชาญชัย จารุภาชน์; ขนิษฐา เจิมขุนทด; พักตร์วิภา เจริญธรรม; Wiwat Arkaravichien; Tarinee Arkaravichien; Chanchai Jarupach; Khanitha Jermkuntood; Parkwipa Charoenthum (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-03)
      แม้ว่าร้านยาจะเป็นที่ให้บริการสุขภาพเบื้องต้นแก่ประชาชน แต่ร้านยาก็ไม่ได้ถูกจัดให้เป็นหน่วยบริการภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพใดๆ ภายหลังที่ประเทศไทยมีระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้มีความพยายามที่จะทดลองร้านยาคุณภาพเป็น ...
    • ความแตกต่างของการตายในผู้สูงอายุไทยตามลักษณะประชากร เศรษฐกิจสังคม และสถานะสุขภาพ 

      ปัทมา ว่าพัฒนวงศ์; Pattama Vapattanawong; อุทัยทิพย์ รักจรรยาบรรณ; Uthaithip Rakchanyaban; ปราโมทย์ ประสาทกุล; Pramote Prasartku; เยาวรัตน์ ปรปักษ์ขาม; Yawarat Porapakkham; วิชัย เอกพลากร; Wichai Aekplakorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การศึกษาตรวจสอบความแตกต่างของการตายของผู้สูงอายุไทยอายุ 60 ปีขึ้นไป ตามลักษณะประชากร เศรษฐกิจ สังคม และสุขภาพ ในช่วง พ.ศ. 2547-2549 จากข้อมูล 2 แหล่งที่เชื่อมโยงกัน ได้แก่ ข้อมูลผลการสำรวจสภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชนไทยโด ...
    • ความแตกต่างของการใช้พลังงานจากกิจกรรมทางกายระหว่างคนเมือง/คนชนบทในประเทศไทย: ข้อมูลจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2558 

      ฐิติภรณ์ ตวงรัตนานนท์; Titiporn Tuangratananon; นุชราภรณ์ เลี้ยงรื่นรมย์; Nucharapon Liangruenrom; ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananonta; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-03)
      มีหลักฐานเชิงประจักษ์เป็นจำนวนมากที่แสดงให้เห็นประโยชน์ของการมีกิจกรรมทางกาย หลายการศึกษาระบุว่า ปัจจัยทางสังคมและสิ่งแวดล้อม ถือเป็นปัจจัยที่มีผลต่อการมีกิจกรรมทางกาย การกำหนดนโยบายจึงต้องคำนึงถึงปัจจัยต่างๆ การศึกษานี้ ...
    • ความแตกต่างของต้นทุนการรักษาพยาบาลระหว่าง 3 ระบบหลักประกันสุขภาพสำหรับบริการผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยในของสถานพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 

      ทีปกร จิร์ฐิติกุลชัย; Theepakorn Jithitikulchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความแตกต่างของต้นทุนการรักษาพยาบาลด้วยสิทธิการรักษาพยาบาลของแต่ละระบบหลักประกันสุขภาพของรัฐ ได้แก่ โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าหรือบัตรทอง (universal coverage scheme, UCS) ...
    • ความแตกต่างของพฤติกรรมการบริโภคอาหารของประชากรไทย: ลักษณะประชากร เศรษฐกิจและสังคม และสถานะสุขภาพส่งผลอย่างไร 

      ชัชวาลย์ เผ่าเพ็ง; Chatchawarn Paopeng; สุลัดดา พงษ์อุทธา; Suladda Pongutta; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสมเป็นสาเหตุสำคัญที่นำไปสู่โรคอ้วนและโรคไม่ติดต่อเรื้อรังซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นในประเทศไทย การศึกษาครั้งนี้ได้วิเคราะห์ความเกี่ยวข้องระหว่างพฤติกรรมการบริโภคอาหารของประชากรไทยที่มีอายุ ...
    • ความแตกต่างทางพันธุกรรม: สู่การแพทย์จีโนมิกส์ ถอดรหัสพันธุกรรมรักษาตรงเหตุ 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. หน่วยงานขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการบูรณาการจีโนมิกส์ประเทศไทย; Health Systems Research Institute. Genomics Thailand Coordinating Unit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-10)
      ปัจจุบันเทคโนโลยีในการถอดลำดับยีนหรือสารพันธุกรรมมีความก้าวหน้ามากขึ้นอย่างรวดเร็ว ทำให้นักวิทยาศาสตร์ นักวิจัย ตลอดจนแพทย์ สามารถค้นพบการกลายพันธุ์ในยีนก่อโรคยีนใหม่ที่เป็นสาเหตุของโรคต่างๆ หรือแม้กระทั่งโรคที่หาพบได้ยากในคนไทย ...
    • ความแตกต่างในจำนวนวันนอนและการเข้ารักษาซ้ำแบบผู้ป่วยในของผู้ป่วยเบาหวานระหว่างระบบประกันสุขภาพ 

      จเด็จ ธรรมธัชอารี; Jadej Thamthajaree (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-12)
      การศึกษานี้เป็นการศึกษาประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรและคุณภาพบริการที่ได้รับจากระบบหลักประกันสุขภาพที่ต่างกัน 3 ระบบคือ ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ระบบประกันสังคม และระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการโดยใช้การเข้ารับบริการ ...
    • ความแม่นยำและความเที่ยงตรงของแบบสอบถามกิจกรรมทางกายสำหรับหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร 

      วีรชาติ ศรีจันทร์; Weerachat Srichan; พัชรี มั่นคง; Phatchari Mankong; ชาลีลักษม์ ทองประเสริฐ; Chaleelak Thongprasert; ทิพวัลย์ พงษ์เจริญ; Tippawan Pongcharoen; อมรพันธ์ อัจจิมาพร; Amornpan Ajjimaporn; สืบพงษ์ กอวชิรพันธ์; Sueppong Gowachirapant (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-03)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและทดสอบความแม่นยำและความเที่ยงตรงของแบบสอบถามกิจกรรมทางกายสำหรับหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร (physical activity questionnaire for pregnant and lactating women, PAQ-PL) โดยพัฒนาแบบสอบถ ...
    • คะแนนความเสี่ยงโรคเบาหวานสำหรับคนไทย 

      วิชัย เอกพลากร; Vichai Aekplakorn; พงษ์อมร บุนนาค; Pongamorn Bunnag; ปิยะมิตร ศรีธรา; Piyamitr Sritara; สายัณห์ ชีพอุดมวิทย์; Sayan Cheepudomvit; สุกิจ แย้มวงศ์; Sukit Yamwong; รัชตะ รัชตะนาวิน; Rajata Rajatanavin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การทำนายความเสี่ยงโรคเบาหวานในบุคคลทั่วไปเป็นวิธีหนึ่งที่อาจนำไปร่วมใช้ในมาตรการควบคุมโรคเบาหวานในชุมชน การใช้คะแนนความเสี่ยงโรคเบาหวานประเมินความเสี่ยงโรคเบาหวานเป็นวิธีง่าย สะดวกกว่าการเจาะเลือดตรวจตัวแปรเสริมต่างๆ ...
    • คำถามการวิจัยเพื่อการควบคุมยาสูบ : การวิเคราะห์เอกสารและทัศนะจากผู้เชี่ยวชาญ 

      ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; ประภาพรรณ เอี่ยมอนันต์; หริสร์ ทวีวัฒนา; สุวัฒนา ไพรแก่น; สริญญา เลาหพันธ์พงศ์; ศิริเพ็ญ อรุณประพันธ์; Siriwan Pitayarangsarit; Suwatthana Praikean; Prapapun Iamanun; Sarinya Laohapanpong; Haris Taveeputtana; Siripen Arunpraphan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-06)
      วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้เพื่อรวบรวมองค์ความรู้ส่วนขาดในการผลักดันนโยบายด้านการควบคุมยาสูบในประเทศไทย โดยการวิเคราะห์ และวิจัยทบทวนเอกสาร ภายในกรอบประเด็นที่มีความสำคัญในเชิงนโยบาย พิจารณาจากกรอบอนุสัญญาว่าด้วย ...
    • คำถามการวิจัยเพื่อพัฒนาการกระจายอำนาจด้านสุขภาพในประเทศไทย 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; มโน มณีฉาย; กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; Jaruayporn Srisasalux; Mano Maneechay; Krit Pongpirul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-12)
      แม้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ระบุให้รัฐต้องกระจายอำนาจให้ท้องถิ่นพึ่งตนเองและตัดสินใจในกิจการของท้องถิ่นเอง แต่ที่ผ่านมากลับไม่มีความก้าวหน้าที่ชัดเจนและเป็นรูปธรรม ที่สำคัญคือยังขาดการสังเคราะห์องค์ความรู้ที่จำเป็นต่ ...
    • คำถามการวิจัยและปัญหาที่ควรได้รับการศึกษาวิจัย เกี่ยวกับคุณภาพของบริกรสุขภาพในประเทศไทย 

      จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; Jiruth Sriratanaban (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      งานวิจัยชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาแผนแม่บทและเครื่องชี้วัดคุณภาพของบริการสาธารณสุข ภายใต้ หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดยมีเป้าหมายในการสร้างตัวชี้วัดคุณภาพบริการที่เหมาะสมกับบริบทประเทศไทย และเผยแพร่ข้อมูลเหล่านี้ด้ว ...
    • คำถามวิจัยกำลังคนด้านสุขภาพ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)
      การบริบาล (care) เป็นวิถีแสดงความห่วงใยที่ใช้แรงงานจากความรัก (labor of love) มีมิติที่ซับซ้อนในด้านสังคมวิทยา เป็นงานประจำที่ต้องทำซ้ำๆ ทุกวัน ด้วยมุมมองทางจริยธรรม ขณะเดียวกันก็ยังคงมีความไม่เป็นธรรมดำรงอยู่ทั้งในระดับ ...
    • คำปราศรัยของประธานาธิบดีคลินตันในการปฏิรูประบบบริการสาธารณสุข 

      วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat (2537)
      คำปราศรัยของประธานาธิบดีคลินตัน ในการปฏิรูประบบบริการสาธารณสุขของสหรัฐอเมริกา เสนอต่อที่ประชุมร่วมของรัฐสภา นายแพทย์ใหญ่สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข แปลและเรียบเรียง จากเอกสารการถอดเทปคำปราศรัยของประธานาธิบดีคลินตัน ...
    • คำพ้องต่างๆ 

      สมชัย บวรกิตติ; อรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
    • คุณค่าการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; Jaruayporn Srisasalux (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย (Routine to Research ; R2R) เป็นกลไกที่เข้าไปปรับกระบวนการทำงานประจำ โดยนำงานวิจัยเข้าไปรังสรรค์คุณค่าให้แก่งานประจำ กระตุ้นให้ผู้ทำงานพัฒนางานให้ดีขึ้น ส่งผลให้มีความสุขกับการทำงานมากขึ้น ...