Now showing items 1-20 of 21

    • HSRI-FORUM ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : เชื้อดื้อยาปฏิชีวนะ วิกฤตและทางออกของสังคมไทย 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; Pongpisut Jongudomsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)
      สำหรับฉบับนี้ ถือเป็นฉบับที่ 1 ประจำเดือนมิถุนายน 2555 ที่มาพร้อมกับสาระความรู้ที่เข้มข้น ซึ่งจะได้นำมาแบ่งปันกันในฉบับนี้ โดยเมื่อปลายเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ร่วมกับ กระทรวงสาธารณสุข ...
    • HSRI-FORUM ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : ถ่ายโอนสถานีอนามัย สู่ อปท. บทเรียนและข้อเสนอ 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; Pongpisut Jongudomsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-07)
      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) และสำนักงานวิจัยและพัฒนากำลังคน ด้านสุขภาพ (สวค.) ได้ร่วมกันจัดประชุมวิชาการ ‘สรุปบทเรียนและทิศทางในอนาคตการ ถ่ายโอนสถานีอนามัย’ ขึ้นมา ...
    • HSRI-FORUM ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 : เคลื่อนยุทธศาสตร์กำลังคนด้านสุขภาพ 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; Pongpisut Jongudomsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-08)
      ฉบับนี้นำเสนอเรื่อง ‘แผนยุทธศาสตร์ทศวรรษกำลังคนด้านสุขภาพ แห่งชาติ พ.ศ.2550-2559’ เป็นรายงานพิเศษ เนื่องในโอกาสที่แผนยุทธศาสตร์ฯ ดังกล่าว ดำเนินงานมาได้ 5 ปีหรือถือเป็นครึ่งทางของแผน ดังนั้นจึงได้มีการประเมินผลการดำเนิ ...
    • HSRI-FORUM ปีที่ 1 ฉบับที่ 4 : บทเรียนจากประสบการณ์ มหาอุทกภัย 2554 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; Pongpisut Jongudomsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09)
      HSRI FORUM ฉบับเดือนกันยายนนี้ นำเสนอประเด็นปัญหาการเตรียมความพร้อมเพื่อ รองรับกับภาวะน้ำท่วมเป็นเรื่องหลัก โดยเฉพาะเนื้อหาที่เกี่ยวกับแนวคิดการรับมือภัยพิบัติใน ขอบเขตบริการการแพทย์และสาธารณสุข หลายหน่วยงานของกระทรวงส ...
    • HSRI-FORUM ปีที่ 1 ฉบับที่ 5 : เดินหน้าสู่การควบคุมค่ายา ในระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; Pongpisut Jongudomsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-10)
      ฉบับนี้เปิดประเด็นด้วยเรื่องใหญ่ที่เกี่ยวข้องกับระบบสุขภาพของประเทศ นั่นคือ ‘การใช้ยาที่สมเหตุผล’ เนื่องจากที่ผ่านมา ประเทศไทยใช้จ่ายค่ายารักษาโรค รวมกันปีละหลายแสนล้านบาท เช่น ในปี 2551 มูลค่ายานำเข้ารวมกันสูงถึง 2.7 ...
    • HSRI-FORUM ปีที่ 1 ฉบับที่ 6 : ลดความเหลื่อมล้ำ เพิ่มความเป็นธรรม 3 กองทุนสุขภาพ 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; Pongpisut Jongudomsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-11)
      นำเสนอเนื้อหาที่เป็นประเด็น สำคัญระดับชาติที่ต้องได้รับการปฏิรูปเพื่อสร้างความเป็นธรรมให้เกิดแก่ ประชาชน นั่นคือ การจัดการระบบบริหารทั้ง 3 กองทุนสุขภาพ ประกอบด้วย กองทุนหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ กองทุนสวัสดิการรักษาพย ...
    • HSRI-FORUM ปีที่ 1 ฉบับที่ 7 : สู่ความเป็นธรรม ระบบบริการสุขภาพคนพิการ 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; Pongpisut Jongudomsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-12)
      วารสาร HSRI Forum ฉบับนี้ ได้นำเสนอประเด็น ‘สู่ความ เป็นธรรม ระบบบริการสุขภาพ คนพิการ’ เป็นรายงานพิเศษ เพื่อนำเสนอให้เห็นว่าคนพิการใน สังคมไทยยังไม่ได้รับความเป็น ธรรมในเรื่องใดบ้าง โดยเฉพาะ ในด้านการเข้าถึงการบริ ...
    • HSRI-FORUM ปีที่ 1 ฉบับพิเศษ : ทศวรรษที่ 2 สู่หลักประกันสุขภาพที่เป็นธรรมและยั่งยืน 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; Pongpisut Jongudomsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-05)
      HSRI Forum เป็นเสมือนพื้นที่แลกเปลี่ยนความรู้แบ่งปัน และถ่ายทอดข้อมูล ข่าวสาร ความ เคลื่อนไหว ผลงานวิจัย กิจกรรมหรือการดำเนินงาน ต่างๆ ของ สวรส. และเครือสถาบัน ตลอดจน สถานการณ์สำคัญที่มีผลกระทบต่อสุขภาวะของ สังคมไทยในขณะนั้น ...
    • HSRI-FORUM ปีที่ 2 ฉบับที่ 1: จัดการความรู้ สู่ระบบสุขภาพที่เป็นธรรม : พลังความรู้ สู่การเขยื้อนภูเขา 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; Pongpisut Jongudomsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-04)
      เรื่อง“ความเป็นธรรม” ในระบบสุขภาพเป็นประเด็นที่สังคมไทยสนใจ มานาน สวรส.ได้ทำงานสนับสนุนประเด็นนี้อย่างต่อเนื่อง ฉบับนี้นำเรื่อง ราวหลายด้านที่เกี่ยวข้องมานำเสนอ ในคอลัมน์ต้นกล้าความรู้สู่ต้นแบบ สุขภาพ นำต้นแบบแนวคิด ...
    • HSRI-FORUM ปีที่ 2 ฉบับที่ 2: 1 ปี รักษาฉุกเฉิน มาตรฐานเดียว 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; Pongpisut Jongudomsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-05)
      HSRI FORUM ฉบับนี้ มีสาระความรู้ในแวดวงระบบสุขภาพ มาฝากเช่นเคย โดยฉบับนี้ได้ถือเอาวาระครบรอบ 1 ปีของการประกาศนโยบาย “เจ็บป่วยฉุกเฉินถึงแก่ชีวิต ไม่ถามสิทธิ ใกล้ที่ไหน ไปที่นั่น” มาเป็นประเด็นของการนำเสนอนโยบายนี้นับเป็นก ...
    • HSRI-FORUM ปีที่ 2 ฉบับที่ 3 : วิกฤติ P4P พลังปัญญาหาทางออก 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; Pongpisut Jongudomsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)
      ฉบับนี้ได้หยิบ ประเด็นการจ่ายค่าตอบเเทนตามผลปฏิบัติงาน หรือ P4P มานำเสนอในมุมมองทางวิชาการให้ทุกท่านทราบในรายงานฉบับพิเศษ โดย สวรส. ได้จัดเวทีวิชาการ “วิกฤติ P4P ระดมพลังปัญญา ร่วมหาทางออก”ขึ้น เพื่อให้เกิดการเเลกเปลี่ยน ...
    • HSRI-FORUM ปีที่ 2 ฉบับพิเศษ : สวรส. จัดการความรู้ พัฒนาระบบสุขภาพไทย ในบริบทที่เปลี่ยนแปลง 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; Pongpisut Jongudomsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-03)
      HSRI Forum ฉบับพิเศษนี้ เราได้เปิดพื้นที่แนะนำเครือ สถาบันทั้ง 7 แห่งของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) และแผนงาน วิจัยของ สวรส. ที่ มีส่วนร่วม “สร้าง – จัดการความรู้” เพื่อพัฒนาระบบ สุขภาพไทย…ในบริบทที่เปลี่ยนแปลง ...
    • Mind the gap สู่ความเป็นธรรมด้านสุขภาพ : การถ่ายโอนสถานีอนามัยสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-08)
      การประชุมเชิงปฏิบัติการ “สรุปบทเรียนและทิศทางในอนาคตการถ่ายโอนสถานีอนามัย” ที่จัดขึ้น เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2555 ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี เป็นกิจกรรมทางวิชาการของแผนงานวิจัยและพัฒนาการกระจายอำนาจด้านสุขภาพ ...
    • Mind the gap สู่ความเป็นธรรมด้านสุขภาพ : สวรส. ปลดเงื่อนตาย คลายปมคิด กระจายอำนาจด้านสุขภาพ จากบทเรียนสู่ทางออก 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-01)
      เวทีวิชาการสู่ความเป็นธรรมด้านสุขภาพ ครั้งที่ 1 “10 ปี การกระจายอำนาจด้านสุขภาพ : สังเคราะห์บทเรียนเพื่อค้นหาทางออกร่วมกัน” ที่จัดขึ้นเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2553 ณ ห้องอบรมสถาบันพระปกเกล้า เป็นกิจกรรมทางวิชาการของแผนงานวิ ...
    • Mind the gap สู่ความเป็นธรรมด้านสุขภาพ ฉบับที่ 2 (กันยายน 2554) : กระทรวงสาธารณสุขในศตวรรษที่ 21 ปฏิรูปสู่สิ่งที่ดีกว่า เพื่อเราทุกคน 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; Narong Sahamaethapt; Somsak Chunharas; Pongpisut Jongudomsuk; Jaruayporn Srisasalux (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-09)
      ยุทธศาสตร์การวิจัยระบบสุขภาพ ปี พ.ศ.2554-2558 ตั้งเป้าหมายไว้ว่า จะเร่งจัดการความรู้สู่ระบบ สุขภาพที่เป็นธรรมและยั่งยืน และหนึ่งในแผนงานวิจัยที่สำคัญเพื่อบรรลุเป้าหมายดังกล่าวคือ การพัฒนาความ เข้มแข็งกลไกการอภิบาลระบบสุขภาพ ...
    • การใช้ข้อมูลป้อนกลับเพื่อเพิ่มประสิทธิผลการบริหารงานเจ้าหน้าที่สถานีอนามัย 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; Pongpisut Jongudomsuk (2537)
      การพัฒนาการใช้ข้อมูลข่าวสารเพื่อการพัฒนางาน เป็นการวิจัยในระดับพื้นที่ชิ้นนี้ เป็นตัวอย่างที่ดีที่ควรส่งเสริมให้มีการทำกันอย่างกว้างขวาง และหลากหลาย เพราะยิ่งทำกันมากเท่าใด งานสาธารณสุขก็จะดีมากเท่านั้น
    • คลื่นลูกที่ 3 ของการปฏิรูประบบบริการสุขภาพในประเทศไทย 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; Pongpisut Jongudomsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      การปฏิรูประบบบริการสุขภาพของประเทศไทยได้ก้าวสู่ระยะที่สาม หลังจากประสบความสำเร็จในการขยายความครอบคลุมสถานพยาบาลไปทั่วประเทศในระยะที่หนึ่ง และการปฏิรูประบบการเงินการคลังจนมีระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในระยะที่สอง ...
    • ความกันดารของพื้นที่ : หลักเกณฑ์การพิจารณา 

      ขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทย; ณิชากร ศิริกนกวิไล; พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์; พินิจ ฟ้าอำนวยผล; Kwanpracha Chiangchaisakulthai; Nichakorn Sirikanokvilai; Pongpisut Jongudomsuk; Somsak Chunharas; Pinij Fahamnuaypol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-09)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาหลักเกณฑ์และแนวทางการกำหนดความกันดารของพื้นที่ระดับอำเภอ เพื่อใช้อ้างอิงประกอบการจ่ายค่าตอบแทน “เบี้ยเลี้ยงเหมาจ่าย” แก่บุคลากรสาธารณสุข ทั้งนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายงานข้อเสนอการปรับ ...
    • นโยบายพรรคการเมืองด้านสุขภาพ ในการเลือกตั้งทั่วไปเดือนกรกฎาคม 2554 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; ฐิติมา นวชินกุล; สายศิริ ด่านวัฒนะ; Pongpisut Jongudomsuk; Thitima Nawachinkul; Saisiri Danwattana (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-09)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์นโยบายด้านสุขภาพของพรรคการเมืองต่างๆ ที่ได้เสนอเพื่อหาเสียงในการเลือกตั้งทั่วไปในวันที่ 3 กรกฎาคม 2554 โดยการทบทวนเอกสารทางการและข้อมูลที่เสนอผ่านสื่ออิเลคทรอนิกส์และสื่อมวลชนต่างๆ ...
    • ระบบวิจัยสุขภาพเพื่อการปฏิรูปสุขภาพที่ยั่งยืนในประเทศไทย 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; Pongpisut Jongudomsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การวิจัยสุขภาพมีส่วนช่วยสนับสนุนการพัฒนาระบบสุขภาพของประเทศไทยอย่างมากในช่วง 2 ทศวรรษที่ผ่านไป อย่างไรก็ตาม บริบทต่างๆ ที่เปลี่ยนแปลงไปทั้งในระดับสากลและระดับประเทศ รวมทั้งความซับซ้อนของระบบสุขภาพที่เพิ่มขึ้น ทำให้ความต้ ...