Now showing items 1-9 of 9

    • การควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในประเทศไทย: จากผลการศึกษาต้นทุนความเจ็บป่วยสู่ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย 

      มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์; ทิวารัตน์ วุฒิศรัย; พัทธรา ลีฬหวรงค์; นัยนา ประดิษฐ์สิทธิกร; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Montarat Thavorncharoensap; Tivarat Woothisai; Pattara Leelahavarong; Naiyana Praditsitthikorn; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-12)
      ผลจากการทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับต้นทุนความเจ็บป่วยของการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์พบว่าการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ส่งผลกระทบทางเศรษฐกิจเป็นมูลค่ามหาศาล ทั้งนี้ผลกระทบจากการสูญเสียผลิตภาพทั้งจากการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรแล ...
    • การจัดลำดับความสำคัญภาวะสุขภาพและโรคไม่ติดต่อของคนต่างด้าวในประเทศไทย 

      ศุภวรรธน์ เพิ่มผลสุข; Suppawat Permpolsuk; ธนพร บุษบาวไล; Thanaporn Bussabawalai; ดนัย ชินคำ; Danai Chinnacom; มณีโชติรัตน์ สันธิ; Maneechotirat Santi; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)
      ในปี 2547 กระทรวงสาธารณสุขได้มีการประกาศขายบัตรประกันสุขภาพให้คนต่างด้าวที่ไม่มีสิทธิในหลักประกันสุขภาพใดๆ โดยคนต่างด้าวที่ผ่านการตรวจสุขภาพจะได้รับอนุญาตให้ทำงานและซื้อบัตรประกันสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข ทั้งนี้ ...
    • การทบทวนและพัฒนาข้อเสนอเพื่อการปรับปรุงชุดสิทธิประโยชน์ภายใต้บัตรประกันสุขภาพคนต่างด้าว 

      ธนพร บุษบาวไล; Thanaporn Bussabawalai; ดนัย ชินคำ; Danai Chinnacom; ศรวณีย์ อวนศรี; Sonvanee Uansri; มณีโชติรัตน์ สันธิ; Maneechotirat Santi; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; เนตรนภิส สุชนวนิช; Netnapis Suchonwanich; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-06-30)
      กระทรวงสาธารณสุขออกมาตรการในการประกันสุขภาพสำหรับคนต่างด้าวที่ไม่มีสิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลใดๆ ชุดสิทธิประโยชน์ภายใต้บัตรประกันสุขภาพนี้มีการปรับเปลี่ยนไม่มากนักในช่วงเวลา 10 ปีที่ผ่านมา การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื ...
    • การประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพโดยคณะทำงานด้านเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข ภายใต้คณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ รอบปี พ.ศ. 2559-2561 

      นิธิเจน กิตติรัชกุล; Nitichen Kittiratchakool; พรธิดา หัดโนนตุ่น; Phorntida Hadnorntun; ดิศรณ์ กุลโภคิน; Disorn Kulpokin; จุฑามาศ พราวแจ้ง; Juthamas Prawjaeng; สุธาสินี คำหลวง; Suthasinee Kumluang; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; เนตรนภิส สุชนวนิช; Netnapis Suchonwanich (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09-30)
      ประเทศไทยได้พยายามพัฒนากรอบบัญชียาจำเป็นหรือยาหลักแห่งชาติมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี พ.ศ. 2515 จนถึงปัจจุบัน ซึ่งในปี พ.ศ. 2551 มีการนำข้อมูลความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์สาธารณสุขและการวิเคราะห์ผลกระทบด้านงบประมาณมาเป็นส่วนหน ...
    • การเพิ่มการเข้าถึงยาราคาแพงในบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ.2551 : จากนโยบายสู่การปฏิบัติ 

      เสาวลักษณ์ ตุรงคราวี; วรัญญา รัตนวิภาพงษ์; รุ่งนภา คำผาง; พัทธรา ลีฬหวรงค์; ยศ ตีระวัฒนานนท์; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Saowalak Turongkaravee; Waranya Rattanavipapong; Roongnapa Khampang; Pattara Leelahavarong; Yot Teerawattananon; Sripen Tantivess (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09)
      วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษากระบวนการนำนโยบายเพิ่มการเข้าถึงยาราคาแพงในบัญชียา จ (2) ของบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ.2551 ไปสู่การปฏิบัติโดยโครงการประกันสุขภาพภาครัฐ ได้แก่ โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โครงการสวัสดิการรักษาพย ...
    • ความคุ้มค่าของการตรวจคัดกรองโรคไวรัสตับอักเสบบีในประเทศไทย 

      นริสา ตัณฑัยย์; Narisa Tantai; พิศพรรณ วีระยิ่งยง; Pitsaphun Werayingyong; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-12)
      โรคไวรัสตับอักเสบบีพบได้บ่อยในประชากรไทย เป็นสาเหตุสำคัญของตับแข็ง ตับวาย มะเร็งตับ ส่งผลต่อ คุณภาพชีวิต ค่าใช้จ่าย และทำให้ชีวิตสั้นลง ปัจจุบันไม่มีแนวทางคัดกรองระดับประชากรที่ชัดเจนและไม่มีการวิเคราะห์ความคุ้มค่าของการ ...
    • ต้นทุนประสิทธิผลของการตรวจคัดกรองผู้มีปัญหาการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ระดับประชากรในประเทศไทย 

      วริทธิ์ จันทรสถาพรจิต; Varit Chantarastapornchit; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-12)
      การดื่มแอลกอฮอล์เป็นปัจจัยสำคัญต่อภาระโรคในประชากรไทย โดยเฉพาะประชากรเพศชาย การคัดกรองผู้มีปัญหาจากการดื่มแอลกอฮอล์เพื่อให้คำแนะนำอย่างสั้นอาจช่วยลดปัญหานี้ได้ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ ...
    • ประสบการณ์ของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคธาลัสซีเมียชนิดรุนแรงที่ได้รับการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดเลือดในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยสองแห่งในกรุงเทพมหานคร 

      สุรชัย โกติรัมย์; พัทธรา ลีฬหวรงค์; กลีบสไบ สรรพกิจ; สุรเดช หงส์อิง; ยศ ตีระวัฒนานนท์; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Surachai Kotirum; Pattara Leelahavarong; Kleebsabai Sanpakit; Suradej Hongeng; Yot Teerawattananon; Sripen Tantivess (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)
      การศึกษาเชิงคุณภาพนี้ใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึกเพื่อศึกษาประสบการณ์ของผู้ดูแลหลักของผู้ป่วยโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียชนิดรุนแรงที่ได้รับการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดเลือดที่ประสบความสำเร็จในศูนย์ให้บริการปลูกถ่ายฯ 2 แห่ง ...
    • ผลการดำเนินงานและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการคัดเลือกยาเข้าสู่บัญชี จ(2) ของบัญชียาหลักแห่งชาติ 

      ชุติมา คำดี; Chutima Kumdee; จิรวิชญ์ ยาดี; Jirawit Yadee; วิทธวัช พันธุมงคล; Witthawat Pantumongkol; พรธิดา หัดโนนตุ่น; Phorntida Hadnorntun; นิธิเจน กิตติรัชกุล; Nitichen Kittiratchakul; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; เนตรนภิส สุชนวนิช; Netnapis Suchonwanich; ชนิดา เอกอัครรุ่งโรจน์; Chanida Ekakkararungroj (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-12)
      บัญชี จ(2) เป็นบัญชีย่อยที่เพิ่มเข้าสู่บัญชียาหลักแห่งชาติ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 เพื่อให้ผู้ป่วยที่มีความจำเป็นเฉพาะสามารถเข้าถึงยาราคาแพงได้อย่างเสมอภาคและเท่าเทียมในทุกสิทธิการรักษา โดยมีคณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่ง ...