Now showing items 1-20 of 75

    • Patterns of Outpatient Services and Charge for Patients Enrolled in the Universal Health Coverage Scheme 

      คเณศ สัมพุทธานนท์; Kanet Sumputtanon; นิลวรรณ อยู่ภักดี; Nilawan Upakdee; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-03)
      Background: In 2011, the Universal Health Coverage (UHC), which is a public health insurance scheme, covered approximately 48.3 million (74.3%) of the Thai population. This study aims to examine the patterns of outpatient ...
    • การขับเคลื่อนนโยบายการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในประเทศไทย 

      นพคุณ ธรรมธัชอารี; Noppakun Thammatacharee; นุชรินธ์ โตมาชา; Nucharin Tomacha; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-09)
      การใช้ยาอย่างสมเหตุผล (rational drug use; RDU) คือ การที่ประชาชนได้รับยาที่เหมาะสมกับความจำเป็นด้านสุขภาพในขนาดและระยะเวลาที่ถูกต้อง เกิดเป็นค่าใช้จ่ายน้อยที่สุดต่อตัวผู้ป่วยและสังคม การพัฒนาแนวคิด RDU ให้เป็นนโยบายที่นำ ...
    • การคลังสุขภาพในระบบสุขภาพปฐมภูมิ: ยกระดับหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      ระบบสุขภาพปฐมภูมิเป็นปัจจัยสำคัญอย่างหนึ่งในการจัดประเภทระบบสุขภาพของประเทศต่างๆ เนื่องจากถ้ามีระบบสุขภาพปฐมภูมิที่ดี ประเทศจะสามารถควบคุมรายจ่ายด้านสุขภาพโดยรวม มีบริการที่มีคุณภาพ ได้ผลลัพธ์ทางสุขภาพสูง รวมทั้งแก้ปัญหา ...
    • การปฏิรูประบบสาธารณสุขในประเทศสหราชอาณาจักร สวีเดน และเนเธอร์แลนด์ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (2537)
      เมื่อวันที่ 24 มกราคม ถึง 1 กุมภาพันธ์ 2537 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข พร้อมด้วยคณะผู้บริหารระดับสูงและนักวิชาการ จำนวน 33 คน ได้ไปศึกษาดูงานการปฏิรูประบบบริการสาธารณสุขของ 3 ประเทศในทวีปยุโรป ผู้เขียนซึ่งเป็นหนึ่งใน ...
    • การพัฒนากลุ่มโรคร่วมผู้ป่วยในจิตเวช ฉบับที่ 3 

      อรทัย เขียวเจริญ; Orathai Khiaocharoen; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai; ชัยโรจน์ ซึงสนธิพร; Chairoj Zungsontiporn; เบ็ญจมาส พฤกษ์กานนท์; Benjamas Prukkanone; นิชนันท์ รอดเนียม; Nichanan Rodneam (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-03)
      บริการผู้ป่วยจิตเวชเป็นเรื่องสำคัญในการจัดระบบบริการสุขภาพ เพราะทรัพยากรที่ใช้ในการดูแลผู้ป่วยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จากการเปลี่ยนแปลงของสภาพสังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการจัดกลุ่มโ ...
    • การลงทุนในเด็ก 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; จันทร์เพ็ญ ชูประภาวรรณ (2541)
      จากการศึกษาของธนาคารโลกตั้งแต่ปี พ.ศ. 2503 เป็นต้นมา ได้ข้อสรุปว่า การพัฒนาเด็กตั้งแต่เริ่มมีพัฒนาการจะช่วยทำให้ชีวิตความเป็นอยู่ของเด็ก โดยเฉพาะเด็กด้อยโอกาสและครอบครัวมีสภาพดีขึ้น อันจะส่งผลให้สุขภาพชีวิตของสังคมดีขึ้นตามไปด้วย ...
    • การวินิจฉัยภาวะไม่พึงประสงค์จากบริการทางการแพทย์เพื่อการจ่ายชดเชย 

      ปัตพงษ์ เกษสมบูรณ์; บุศราพร เกษสมบูรณ์; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; อมร เปรมกมล; Pattapong Kessomboon; Nusaraporn Kessomboon; Supasit Pannarunothai; Amorn Premgamone (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-03)
      จากสภาพปัญหาภาวะไม่พึงประสงค์ที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วยและการฟ้องร้องที่เพิ่มมากขึ้น จึงมีการร่างพระราชบัญญัติกองทุนชดเชยความเสียหายจากบริการสุขภาพที่ออกแบบให้ครอบคลุมคนไทยทุกกลุ่ม แต่กองทุนใหม่นี้ควรมีกระบวนการวินิจฉัยซึ่งเ ...
    • การเรียกร้องเงินชดเชยจากภาวะไม่พึงประสงค์ที่เกิดในโรงพยาบาล 

      ปัตพงษ์ เกษสมบูรณ์; บุศราพร เกษสมบูรณ์; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; อมร เปรมกมล; Pattapong Kessomboon; Nusaraporn Kessomboon; Supasit Pannarunothai; Amorn Premgamone (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      เมื่อเกิดภาวะไม่พึงประสงค์จากการรักษาพยาบาล ผู้ป่วยหรือญาติอาจเรียกร้องขอเงินชดเชยจากสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และมีการฟ้องศาลในคดีละเมิด ซึ่งเหตุการณ์นี้มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ กระทบกระเทือนความสัมพันธ์ระหว่างแ ...
    • การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก : ขนาดและผลกระทบ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-06)
      ภูมิปัญญาท้องถิ่นของการรักษาโรคและการดูแลสุขภาพที่กลั่นออกมาเป็นองค์ความรู้ที่ถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น มีในสังคมทุกแห่ง ก่อนความรู้ของการแพทย์แผ่นใหม่ (modern medicine) ซึ่งยึดวิธีการพิสูจน์แบบการแพทย์ตะวันตก (western medicine) ...
    • ข่าวสารจากโรคระบาดทั่วโลกสู่โรคประจำถิ่น 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      Rothkopf ได้สร้างคำขึ้นมาใหม่จาก information สนธิกับ epidemic เป็น infodemic เพื่ออธิบายปรากฏการณ์ปัจจัยแทรกซ้อนที่ควบคุมโรคได้ยาก โดยองค์การอนามัยโลกเตือนให้ระวัง infodemic ในยุคความปรกติใหม่ มีคำที่เกี่ยวข้องทั้ง ...
    • ความปกติใหม่ของระบบวิจัยสุขภาพหลังโควิด 19 ระบาดทั่วโลก 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-06-30)
      ขณะที่สถานการณ์ระบาดของโรคโควิด 19 ทั่วโลกกำลังทะลุ 10 ล้านคน และยอดผู้เสียชีวิตเกือบ 5 แสนคน ในวันที่ 27 มิถุนายน 2563 ในประเทศไทยมีผู้ติดเชื้อสะสม 3,162 คน และเสียชีวิตเพียง 58 คน บทบรรณาธิการฉบับนี้ชวนตั้งคำถามถึง ...
    • ความสำเร็จของการดำเนินงานการดูแลสุขภาพระยะกลางตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข 

      นงณภัทร รุ่งเนย; Nongnaphat Rungnoei; ธัญพร ชื่นกลิ่น; Thunyaporn Chuenklin; นภัส แก้ววิเชียร; Naphas Kaeowichian; เบญจพร สุธรรมชัย; Benjaporn Suthamchai; วิชาญ เกิดวิชัย; Wicharn Girdwichai; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-03)
      การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการดำเนินงานการดูแลสุขภาพระยะกลางของผู้ป่วยสามกลุ่มโรค ได้แก่ ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง การบาดเจ็บของสมอง และการบาดเจ็บที่ไขสันหลังตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขและ ...
    • ความเชื่อมโยงของประเด็นสุขภาพกับอนาคตของระบบสุขภาพ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)
      ความเชื่อมโยงของประเด็นต่างๆ กับสุขภาพสามารถอ้างถึงได้ดังที่พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 มาตรา 3 ได้จำกัดความคำว่า “สุขภาพ” ว่าหมายความถึง ภาวะของมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทางกาย ทางจิต ทางปัญญาและทางสังคม เชื่อมโยงกั ...
    • ความเป็นธรรมของบริการทันตสุขภาพ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-03)
      วรรณกรรมด้านความเป็นธรรมของบริการทันตสุขภาพมีปรากฏมากขึ้น โดยเฉพาะภายหลังองค์การอนามัยโลกแพร่รายงานของคณะกรรมาธิการปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ ประเทศสหราชอาณาจักรซึ่งมีระเบียบวิธีการอธิบายความไม่เป็นธรรมของบริการทันตสุขภาพ ...
    • ความเป็นธรรมทางสุขภาพกับสิทธิมนุษยชน: กรณีชาวเขาไร้สัญชาติในประเทศไทย 

      บุญมา สุนทราวิรัตน์; ณรงค์ศักดิ์ หนูสอน; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; ชัยยง ขามรัตน์; Boonma Soontaraviratana; Narongsak Noosorn; Supasit Pannarunothai; Chaiyong Kamrat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      การวิจัยผสมผสานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินระดับความเป็นธรรมทางสุขภาพในแนวคิดสิทธิมนุษยชน เพื่อหาแนวทางลดช่องว่างความเป็นธรรมทางสุขภาพระหว่างกลุ่มคนไทยพื้นราบ,กลุ่มชาวเขาสัญชาติไทย และกลุ่มชาวเขาไร้สัญชาติ รวม 789 คนใน ...
    • ความเป็นธรรมในงานวิจัย: เรียนรู้จากสถานการณ์โควิด 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      บทบรรณาธิการฉบับนี้เป็นการค้นหามุมมองความเป็นธรรมในระบบงานวิจัยที่เกิดขึ้นในช่วงสถานการณ์โควิดที่เป็นโอกาสของการค้นหาความรู้และมีรายจ่ายที่เพิ่มขึ้นมากในการวิจัยค้นหาความรู้ รายจ่ายการวิจัยและพัฒนาประเทศไทยปี พ.ศ. 2563 ...
    • คำถามวิจัยกำลังคนด้านสุขภาพ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)
      การบริบาล (care) เป็นวิถีแสดงความห่วงใยที่ใช้แรงงานจากความรัก (labor of love) มีมิติที่ซับซ้อนในด้านสังคมวิทยา เป็นงานประจำที่ต้องทำซ้ำๆ ทุกวัน ด้วยมุมมองทางจริยธรรม ขณะเดียวกันก็ยังคงมีความไม่เป็นธรรมดำรงอยู่ทั้งในระดับ ...
    • คุณค่าของข้อมูลสุขภาพ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-12)
      ข้อมูลสุขภาพเป็นแก่นกลางของวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข บทความทุกบทบรรยายเกี่ยวกับสุขภาพด้วยข้อมูลที่น่าสนใจแตกต่างกันไป ส่วนใหญ่เป็นข้อมูลที่เก็บขึ้นอย่างเจาะจงเพื่อตอบคำถามวิจัย แต่มีบทความจำนวนมากขึ้นเรื่อยๆ ที่ใช้แหล่งข้ ...
    • คุณภาพในระบบสุขภาพตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน : บทบาทของการวิจัยระบบและนโยบายสุขภาพ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-09)
      การพัฒนาหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและการพัฒนาระบบสุขภาพตั้งแต่บริการปฐมภูมิให้มีคุณภาพ เป็นที่ไว้วางใจจากประชาชน ไม่ใช่ระบบสุขภาพต้นทุนต่ำ ต้องมีกำลังคนเพิ่มขึ้นเกือบ 2 เท่า ข้อเสนอแนะเชิงระบบของการทำให้ระบบสุขภาพมีคุณภาพม ...
    • จะผ่านพ้นวิกฤตโลก โควิด 19 ระบาด ด้วยฐานความรู้และการปฏิบัติ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-03-31)
      การศึกษาประวัติศาสตร์โรคระบาดระดับโลกนั้น เริ่มจากมีการระบาดของกาฬโรค ไข้หวัดรัสเซีย ไข้หวัดสเปน ไข้หวัดเอเชีย โรคเอดส์ ไข้หวัดหมู จนถึง โรคโควิด 19 ในปัจจุบัน ซึ่งฐานความรู้และการปฏิบัติที่มนุษยชาติใช้เพื่อการหลุดพ้นจาก ...