Browsing Articles by Subject "Health Decentralization"
Now showing items 1-8 of 8
-
การกระจายอำนาจด้านสุขภาพในต่างประเทศ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-03)การกระจายอำนาจเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งในการพัฒนาระบบสุขภาพที่อาจทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น เช่น เพิ่มประสิทธิภาพทำให้มีการตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนได้รวดเร็วและตรงจุดมากขึ้น ตรวจสอบง่ายขึ้น, Rondinelli ... -
การถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของประเทศไทย: ความก้าวหน้าและความท้าทาย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-09)งานวิจัยนี้ใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการทบทวนเอกสาร มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความก้าวหน้าของการถ่ายโอนสถานบริการสุขภาพให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นฉบับที่ ... -
การประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพของการจัดบริการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหลังการถ่ายโอนไปสู่องค์การบริหารส่วนจังหวัด
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2568-06)การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพของการจัดบริการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) หลังการถ่ายโอนไปสู่องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) โดยใช้รูปแบบการวิจัยแบบผสมผสาน ข้อมูลเชิงคุณภาพเก็บจากการส ... -
ข้อเสนอเชิงนโยบายในการบริหารกำลังคนด้านสุขภาพเพื่อรับมือโรคระบาดใหญ่ในหน่วยบริการปฐมภูมิ ที่สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2568-06)การถ่ายโอนภารกิจโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไปยังองค์การบริหารส่วนจังหวัดเป็นการกระจายอำนาจด้านสาธารณสุขที่ส่งผลต่อการบริการสุขภาพแก่ประชาชนในพื้นที่ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์การบริหารกำลังคน ... -
คำถามการวิจัยเพื่อพัฒนาการกระจายอำนาจด้านสุขภาพในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-12)แม้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ระบุให้รัฐต้องกระจายอำนาจให้ท้องถิ่นพึ่งตนเองและตัดสินใจในกิจการของท้องถิ่นเอง แต่ที่ผ่านมากลับไม่มีความก้าวหน้าที่ชัดเจนและเป็นรูปธรรม ที่สำคัญคือยังขาดการสังเคราะห์องค์ความรู้ที่จำเป็นต่ ... -
มุมมองผู้ป่วยเกี่ยวกับคุณภาพบริการการแพทย์ฉุกเฉิน และปัจจัยที่เกี่ยวข้องในบริบทการกระจายอำนาจสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-12)การแพทย์ฉุกเฉินถือเป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสุขภาพที่สามารถลดอัตราตายและผลกระทบจากการเจ็บป่วยในกลุ่มผู้ป่วยที่มีการเจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤต อย่างไรก็ตาม การแพทย์ฉุกเฉินนั้นยังมีความท้าทายหลายประการ โดยเฉพาะในการเข้าถึงบริการ ... -
ศักยภาพ การมีส่วนร่วมและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความสามารถของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ในการจัดการสุขภาพชุมชนหลังการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลให้แก่องค์การบริหารส่วนจังหวัด
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-09)การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาศักยภาพ การมีส่วนร่วมและวิเคราะห์ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความสามารถของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ในการจัดการสุขภาพชุมชน หลังการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) ... -
สิทธิประโยชน์ สวัสดิการและความก้าวหน้าของบุคลากร โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-12)ภูมิหลังและเหตุผล: การส่งเสริมให้บุคลากรโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) ได้รับสิทธิประโยชน์ สวัสดิการและความก้าวหน้าในอาชีพนั้น มีความสำคัญ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ...