Now showing items 1-8 of 8

    • การกระจายทันตาภิบาลไทย และภาระงานที่ปฏิบัติในศูนย์สุขภาพ พ.ศ.2549 

      พิศักดิ์ องค์ศิริมงคล; Pisak Onksririmongkol; สุณี วงศ์คงคาเทพ; Sunee Wongkongkabheb; สาลิกา เมธนาวิน; Salika Methanawin; อลิสา ศิริเวชสุนทร; Alisa Sirivejsuntorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์การกระจายทันตาภิบาล และภาระงานที่ปฏิบัติงานในศูนย์สุขภาพชุมชน พ.ศ. 2549 การวิเคราะห์การกระจายทันตาภิบาล พ.ศ. 2549 ใช้ฐานข้อมูลทันตบุคลากรที่รวบรวมโดยกองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย ...
    • การดูแลผู้ป่วยเบาหวานของหน่วยบริการปฐมภูมิ 

      วิโรจน์ เจียมจรัสรังษี; Wiroj Jiamjarasrangsi; วิฑูรย์ โล่ห์สุนทร; Vitool Loohsunthorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-04)
      หน่วยบริการปฐมภูมิถือเป็นสถานบริการหลักสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน ดังนั้นการเพิ่มคุณภาพการดูแลผู้ป่วยที่สถานบริการประเภทนี้จึงมีความสำคัญยิ่ง บทปริทัศน์นี้เป็นการนำเสนอประเด็นเกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยเบาหวานของหน่วยบริการปฐมภูมิ ...
    • การปฏิบัติงานตามเกณฑ์มาตรฐานงานสุขภาพจิตและจิตเวชในระดับศูนย์สุขภาพชุมชน จังหวัดพิจิตร 

      ปริญญา นากปุณบุตร; Parinya Nakpoonnabutra; พรณิภา พลอยกิติกูล; Pornnipa Ploykittikool (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      ปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ผู้รับบริการส่วนใหญ่ยังขาดแคลนการดูแลที่มีความครอบคลุมทั้งด้านการบำบัดรักษา การส่งเสริมป้องกัน และการฟื้นฟูสมรรถภาพ ซึ่งบุคลากรทางสาธารณสุขโดยเฉพาะในระด ...
    • การประเมินคุณภาพการบริการของหน่วยบริการปฐมภูมิ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 

      เลิศเชาว์ สุทธาพานิช; Lertchoa Suttapanich (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-03)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินคุณภาพการบริการ การจัดบริการ การจัดกลุ่มตามระดับการบริการ และปัจจัยที่ส่งผลต่อกลุ่มคุณภาพการบริการของหน่วยบริการปฐมภูมิ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ กลุ่มตัวอย่าง คือ หัวหน้าหน่วยและผู้ปฏิบ ...
    • การพัฒนาเพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาล 

      สุพัตรา ศรีวณิชชากร; Supatra Srivanichakorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      ปัญหาความแออัดในโรงพยาบาลขนาดใหญ่เกิดจากผู้ใช้บริการมากกว่าครึ่งมีภูมิลำเนาอยู่ในเขตเมือง แม้มีปัญหาสุขภาพที่สถานพยาบาลและแพทย์ทั่วไปสามารถบริการได้ ไม่จำเป็นต้องพบแพทย์เฉพาะทาง แต่เมื่อไปรักษาที่หน่วยแพทย์ใกล้บ้านแล้วไม่ทุเลา ...
    • การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ของการบริบาลทางเภสัชกรรมผู้ป่วยเรื้อรังที่รับยาต่อเนื่องระหว่างร้านยาคุณภาพ และศูนย์แพทย์ชุมชน จังหวัดมหาสารคาม 

      พยอม สุขเอนกนันท์; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; บุษบา โทวรรณา; รัตนา เสนาหนอก; พีรยา สมสะอาด; อุกฤษฎ์ สนหอม; อภิสรา คำวัฒน์; Phayom Sookaneknun; Thananan Rattanachotpanit; Bussaba Thowanna; Rattana Senanok; Peeraya Somsaard; Ukrit Sonhorm; Apisara Kamwat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)
      บทบาทร้านยาที่ดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังอย่างเป็นระบบเชื่อมต่อกับหน่วยบริการของรัฐยังเป็นเรื่องใหม่สำหรับประเทศไทย วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้คือ เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ของการบริบาลเภสัชกรรมผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิต ...
    • ต้นทุนทางตรงที่ไม่เกี่ยวกับการแพทย์ของผู้ป่วยที่มารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอก: การศึกษาแบบภาคตัดขวาง 

      วิน เตชะเคหะกิจ; พิรกิจ วงศ์วิชิต; ธีรยุทธ สุขโสม; อภิชญา บุรพัฒนานนท์; วัชลาวลี แย้มแก้ว; กาญจน์กนก พูลติ้ม; ปฐมพร แก้ววานิช; สุภิดา ลอยธาร; ชนินาถ อินทร์ด้วง; ปฐมาวดี ชิตเพชร; วัชพล ธนมิตรามณี; Win Techakehakij; Piragit Wongwichit; Thirayut Suksom; Apichaya Burapatthananon; Watchalawalee Yamkaew; Kankanok Pooltim; Pathomporn Kaewwanich; Supida Loytharn; Chaninat Induang; Phatthamawadee Chitphet; Vatchapon Tanamittramanee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)
      ต้นทุนทางตรงที่ไม่เกี่ยวกับการแพทย์เป็นสิ่งที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ในการเข้ารับการรักษาพยาบาล แต่การศึกษาเกี่ยวกับขนาดของภาระทางการเงินของครัวเรือนเกี่ยวกับต้นทุนนี้ยังมีน้อยอยู่ การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมิ ...
    • ประสบการณ์ อุปสรรค สิ่งสนับสนุน และผลลัพธ์ของการดำเนินงานบริบาลทางเภสัชกรรมในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงโดยเภสัชกรในคลินิกหมอครอบครัวในเขตสุขภาพที่ 6 

      สายชล ชำปฏิ; Saichon Schampati; สุวภาพ เตชะมหามณีรัตน์; Suwapab Techamahamaneerat; ใจนุช กาญจนภู; Jainuch Kanchanapoo; นฤมล โพธิ์ศรีทอง; Narumol Phosrithong; ถนอมพงษ์ เสถียรลัคนา; Thanompong Sathienluckana; ธีรภัทร์ ฉันทพันธุ์; Theerapat Chantapan; ศรัณยา กล่อมใจขาว; Saranya Klomjaikhao (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      โครงการวิจัยผสมผสานแบบแผนรองรับภายในต่อเนื่องกันมี 2 ส่วน ส่วนที่ 1 การวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษาประสบการณ์ อุปสรรค และสิ่งสนับสนุนการดำเนินงานของเภสัชกรในคลินิกหมอครอบครัว การสนทนากลุ่มกับเภสัชกร 24 คน จาก 6 จังหวัดในเขตสุขภาพที่ ...