Now showing items 621-640 of 1344

    • ขีดความสามารถในการจัดซื้อผลิตภัณฑ์ยาของโรงพยาบาลภาครัฐตามแนวทางของ Pharmaceutical Acquisition Capability (PAC) 

      ศิริพา อุดมอักษร; รุ่งเพ็ชร สกุลบำรุงศิลป์; นุศราพร เกษสมบูรณ์; ไพทิพย์ เหลืองเรืองรอง; อินทิรา กาญจนพิบูลย์; Siripa Udomaksorn; Rungpetch Sakulbumrungsi; Nusaraporn Kessomboon; Paithip Luangruangrong; Inthira Kanchanapibul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-12)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ขีดความสามารถในการจัดซื้อผลิตภัณฑ์ยาของโรงพยาบาลภาครัฐตามแนวทางของ PAC ใช้ข้อมูลการจัดซื้อยาของโรงพยาบาลภาครัฐปี 2553 จากศูนย์ข้อมูลข่าวสารด้านยาและเวชภัณฑ์ กระทรวงสาธารณสุข ...
    • การศึกษาต้นทุนทางตรงที่ไม่เกี่ยวข้องกับการแพทย์ของผู้ป่วยใน โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี 

      วิน เตชะเคหะกิจ; ศิรรัตน์ ชูศรี; ศศิวิมล ชัยกูล; นิชนันท์ กาญจนสุภัค; สิรินาถ จันทร์ลา; เด่นชัย ชัยสวัสดิ์; วศพล ปิติเกื้อกูล; เพ็ญพิชา แก้วพิชัย; ธีรนพ ชูฤทธิ์; เบญจวรรณ ไชยขันธ์; Win Techakehakij; Sirarat Chusri; Sasiwimol Chaigool; Nichanone Kanjanasuphak; Sirinat Junla; Denchai Chaisawat; Wasapol Pitiguagool; Phenphicha Kaewphichai; Theranop Churit; Benjawan Chaikhun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-12)
      ต้นทุนทางตรงที่ไม่เกี่ยวข้องกับการแพทย์ ซึ่งเป็นค่าใช้จ่ายที่เกิดกับผู้ป่วยและผู้ดูแลขณะที่ผู้ป่วยได้รับการรักษาพยาบาล ถือเป็นต้นทุนที่สำคัญในมุมมองของสังคม กระนั้นก็ตาม การศึกษาเกี่ยวกับต้นทุนทางตรงที่ไม่เกี่ยวข้องกับกา ...
    • ความมั่นใจในความรู้ ทักษะและความสามารถทางการแพทย์และสาธารณสุขของบัณฑิตแพทย์: การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจและการถดถอยพหุคูณ 

      ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; ชมพูนุท ไทยจินดา; นงลักษณ์ พะไกยะ; ธัญธิตา วิสัยจร; นพคุณ ธรรมธัชอารี; วิชช์ เกษมทรัพย์; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Rapeepong Suphanchaimat; Thitikorn Topothai; Chompoonut Thaichinda; Nonglak Pagaiya; Thunthita Wisaijohn; Noppakun Thammathacharee; Vijj Kasemsup; Weerasak Puthasri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-12)
      การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความมั่นใจด้านความรู้ ทักษะและความสามารถทางการแพทย์และสาธารณสุขของบัณฑิตแพทย์และหาความสัมพันธ์ระหว่างความมั่นใจดังกล่าวกับการเป็นแพทย์ในโครงการผลิตแพทย์เพื่อชาวชนบท (แพทย์เพื่อชนบท) ...
    • ความรู้เกี่ยวกับนโยบายสนับสนุนระบบบริการสุขภาพโรคเรื้อรังและการมีส่วนร่วมที่หน่วยบริการปฐมภูมิของเภสัชกรโรงพยาบาล 

      อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; หนึ่งฤทัย สุกใส; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; On-anong Waleekhachonloet; Nungruthai Suksai; Thananan Rattanachotphanit; Chulaporn Limwattananon; Samrit Srithamrongsawat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-12)
      ในปัจจุบัน ระบบบริการปฐมภูมิมีบทบาทเพิ่มขึ้นในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่สามารถควบคุมอาการได้ การรักษาโรคเรื้อรังเกือบทั้งหมดเป็นการรักษาด้วยยา ดังนั้นเภสัชกรควรมีส่วนร่วมในการดูแลการใช้ยาในหน่วยบริการปฐมภูมิ ...
    • ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดอาการปวดหลังของครูและบุคลากรทางการศึกษาใน 4 ภูมิภาค 

      พิสิษฐ์ ธิติเลิศเดชา; เบญจพร ทองเที่ยงดี; เสาวภาคย์ แก้วนพคุณ; ภรณี เหล่าอิทธิ; Pisit Thitilertdecha; Benjaporn Thongthiangdee; Saowapak Kaewnoppakhun; Poranee Laoittihi (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-12)
      การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจแบบภาคตัดขวาง เพื่อศึกษาลักษณะท่าทางในการทำงาน สภาพแวดล้อมการทำงาน อาการปวดหลัง และหาปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดอาการปวดหลังของครูและบุคลากรทางการศึกษา ประชากรและกลุ่มตัวอย่างคือครูและบุคลากรทา ...
    • คำถามการวิจัยเพื่อพัฒนาการกระจายอำนาจด้านสุขภาพในประเทศไทย 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; มโน มณีฉาย; กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; Jaruayporn Srisasalux; Mano Maneechay; Krit Pongpirul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-12)
      แม้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ระบุให้รัฐต้องกระจายอำนาจให้ท้องถิ่นพึ่งตนเองและตัดสินใจในกิจการของท้องถิ่นเอง แต่ที่ผ่านมากลับไม่มีความก้าวหน้าที่ชัดเจนและเป็นรูปธรรม ที่สำคัญคือยังขาดการสังเคราะห์องค์ความรู้ที่จำเป็นต่ ...
    • ปัญหาสุขภาวะเด็ก กฎหมาย/นโยบายที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคและการจัดลำดับความสำคัญปัญหาสุขภาวะเด็ก 0 - 5 ปี ในประเทศไทย 

      จอมขวัญ โยธาสมุทร; พิศพรรณ วีระยิ่งยง; นัยนา ประดิษฐ์สิทธิกร; สุทธิษา สมนา; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; ลัดดา เหมาะสุวรรณ; นิพรรณพร วรมงคล; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; สุชัญญา อังกุลานนท์; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Jomkwan Yothasamut; Pitsaphun Weerayingyong; Naiyana Praditsitthikorn; Sutthisa Sommana; Sripen Tantivess; Ladda Mo-suwan; Nipunporn Voramongkol; Kanittha Boonthamcharoen; Suchunya Aungkulanon; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-12)
      ระบบสุขภาพของประเทศไทยให้ความสำคัญกับการดำเนินงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคมาเป็นระยะเวลานาน แต่ยังเป็นการดำเนินการแบบแยกส่วน ส่งผลให้ขาดความร่วมมือ ทิศทาง และเป้าหมายของการดำเนินงานที่ชัดเจน หากดำเนินการแบบองค ...
    • นโยบายด้านการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในกลุ่มเด็กอายุ 0-5 ปี ในประเทศสหรัฐอเมริกา 

      ศศิวรา บุญรัศมี; Sasivara Boonrusmee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-11)
      บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาในโครงการพัฒนานโยบายด้านการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในกลุ่มเด็กอายุ 0–5 ปีในประเทศไทย ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่าง ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย กรมอนามัย และโครงการประเมินเทคโนโลย ...
    • นโยบายและมาตรการที่เกี่ยวข้องกับสุขภาวะเด็ก 0-5 ปี ในตะวันออกกลาง 

      สินดี จำเริญนุสิต; Cindy Chamrernnusit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-12)
      การทบทวนนโยบายและมาตรการที่เกี่ยวข้องกับสุขภาวะเด็กอายุ 0-5 ปีในภูมิภาคตะวันออกกลางนั้น เป็นส่วนหนึ่งของโครงการพัฒนานโยบายด้านการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในกลุ่มเด็กอายุ 0-5 ปี โดยการสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุน ...
    • ประกันสุขภาพถ้วนหน้า : เราเชื่อและเรามุ่งมั่น 

      Walaiporn Patcharanarumol; Tippawan Witworrasakul; Cattleeya Kongsupapsiri; Churnrurtai Kanchanachitra; Viroj Tangcharoensathien; วลัยพร พัชรนฤมล; ทิพวรรณ วิทย์วรสกุล; แคลียา คงสุภาพศิริ; ชื่นฤทัย กาญจนะจิตรา; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09)
      การประชุมนานาชาติรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล พ.ศ. 2555 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 26-28 มกราคม 2555 ณ โรงแรมเซนทารา แกรนด์ กรุงเทพมหานคร ภายใต้หัวข้อ “ก้าวสู่ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า เร่งพัฒนาระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ” หรือ ...
    • การศึกษาความเห็นของแพทย์ต่อมาตรการด้านการเงินและความก้าวหน้าในวิชาชีพกับการคงอยู่ของแพทย์ในโรงพยาบาลชุมชน 

      อารักษ์ วงศ์วรชาติ; Arak Wongworachat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09)
      ปัญหาการขาดแคลนแพทย์ภาครัฐในโรงพยาบาลชุมชน (รพช.) เป็นปัญหาเรื้อรังมานาน จำนวนแพทย์ที่ลาออกมีเพิ่มขึ้นทุกปี การศึกษาที่ผ่านมาพบว่าปัจจัยด้านการเงินและค่าตอบแทนเป็นปัจจัยที่สัมพันธ์ต่อการคงอยู่ของแพทย์ในรพช. ภายหลังจากกระ ...
    • การประเมินการได้รับกรดเบนโซอิกจากการบริโภคอาหารของคนไทยตามค่าสูงสุดในมาตรฐานทั่วไปสำหรับวัตถุเจือปนอาหารของโคเด็กซ์ 

      เวณิกา เบ็ญจพงษ์; อาณดี นิติธรรมยง; วีรยา การพานิช; นิภา โรจน์รุ่งวศินกุล; ปิยนุช วิเศษชาติ; นริศรา ม่วงศรีจันทร์; จิรารัตน์ เทศาศิลป์; Wenika Benjapong; Anadi Nitithamyong; Weeraya Karnpanit; Nipa Rojroongwasinkul; Piyanuch Visetchart; Narissara Moungsrichan; Jirarat Thasasilp (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09)
      กรดเบนโซอิกและเกลือเบนโซเอตเป็นวัตถุเจือปนอาหารที่อนุญาตให้ใช้ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขฉบับที่ 281 ปริมาณที่อนุญาตให้ใช้กรดเบนโซอิกและเกลือเบนโซเอตตามประกาศฉบับนี้ควรมีความสอดคล้องกับมาตรฐานสากลและสามารถคุ้มครองสุขภาพผู้บริโภคได้ ...
    • หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเพื่อคนชายขอบผู้ไม่มีสัญชาติไทย 

      สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ; Supat Hasuwannakit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09)
      คนชายขอบผู้ไม่มีสัญชาติไทยประกอบด้วยคนไร้รัฐ แรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมืองและผู้ลี้ภัย รวมประมาณห้าแสนคนซึ่งยังไม่มีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ส่งผลต่อสถานะสุขภาพของคนชายขอบ มีการเข้าถึงบริการน้อยกว่าคนสัญชาติไทย 6 เท่า ...
    • การพัฒนารูปแบบการเพิ่มขีดความสามารถขององค์กรที่ดำเนินงานด้านการควบคุม กำกับและประเมินผล 

      สุคนธา คงศีล; สุขุม เจียมตน; นุชวรรณ์ บุญเรือง; กิติยา พรมอ่อน; สิทธิกร รองสำลี; ศรันยา บุญใหญ่; กุลญิศา เตชะเพชรไพบูลย์; เบญจพร ยังวิเศษ; Sukhontha Kongsin; Sukhum Jiamton; Nootchawan Boonruang; Kitiya Prom-On; Saranya Boonyai; Sittikorn Rongsumlee; Kulyisa Tachapetpaiboon; Benjaporn Youngviset (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09)
      ภูมิหลังและเหตุผล: การเพิ่มขีดความสามารถเป็นขบวนการที่มุ่งเน้นให้เจ้าหน้าที่มีความรู้ความสามารถที่จะนำทักษะและความรู้ใหม่ๆ มาใช้ในหน่วยงานที่สังกัดและสามารถประเมินได้ว่าหน่วยงานของตนจะยอมรับการเปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ้นเพ ...
    • การเพิ่มการเข้าถึงยาราคาแพงในบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ.2551 : จากนโยบายสู่การปฏิบัติ 

      เสาวลักษณ์ ตุรงคราวี; วรัญญา รัตนวิภาพงษ์; รุ่งนภา คำผาง; พัทธรา ลีฬหวรงค์; ยศ ตีระวัฒนานนท์; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Saowalak Turongkaravee; Waranya Rattanavipapong; Roongnapa Khampang; Pattara Leelahavarong; Yot Teerawattananon; Sripen Tantivess (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09)
      วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษากระบวนการนำนโยบายเพิ่มการเข้าถึงยาราคาแพงในบัญชียา จ (2) ของบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ.2551 ไปสู่การปฏิบัติโดยโครงการประกันสุขภาพภาครัฐ ได้แก่ โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โครงการสวัสดิการรักษาพย ...
    • ความรู้และความตระหนักเกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยมหิดล ปีการศึกษา 2554 

      กานนท์ อังคณาวิศัลย์; พศวัต พึ่งเกียรติไพโรจน์; นวลนิตย์ แปงดี; สคณรัช ทองคำคูณ; กัลยรัตน์ วิไลวงศ์เสถียร; พิรญาณ์ เพียรกลิ่นธรรม; สุภาพรรณ ชุมมุง; กมลชนก ดีศรีศักดิ์; ภาณุพงศ์ หาญเจริญพิพัฒน์; ชุติกาญจน์ พูลเพิ่ม; อ่อนอุษา ขันธรักษา; พงศ์ธนยศ กิรติสินธุ์; วรทัต หงส์วาณิชวงศ์; เพชรณเธียร จุลเลศ; ชิดชนก อุดมธนเดชน์; ภวินตรา เจริญเวช; อภิชญา พร้อมพวก; วรางคณา ชิดช่วงชัย; วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; Kanont Angkanavisan; Possawat Peungkiatpairote; Nuannit Pangdee; Skonrach Thongkumkoon; Kalyarat Wilaiwongsathien; Piraya Pienklintham; Suphapan Chummung; Kamolchanok Deesrisak; Phanuphong Hancharoenphiphat; Chutikarn Poolpoem; Onusa Khantharaksa; Pongtanayos Keeratisin; Woratat Hongwanichwong; Petchnatien Julles; Chidchanok Udomtanadech; Pawintar Jaroenwet; Aphichaya Phromphauk; Warungkana Chidchuangchai; Visanu Thamlikitkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09)
      ภูมิหลัง: ปัจจัยสำคัญประการหนึ่งที่สัมพันธ์กับการใช้ยาปฏิชีวนะมากเกินความจำเป็นคือการขาดความรู้และความตระหนักเกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบและให้ความรู้และสร้างความตระหนักเกี่ยว ...
    • การสำรวจระบบควบคุมและเฝ้าระวังการใช้ยาปฏิชีวนะและการส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุสมผล : ผลการศึกษาเบื้องต้น 

      นิธิมา สุ่มประดิษฐ์; เสาวลักษณ์ ฮุนนางกูร; ภาณุมาศ ภูมาศ; ภูษิต ประคองสาย; Nithima Sumpradit; Saowalak Hunnangkul; Panumart Phumart; Phusit Prakongsai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจการใช้ยาปฏิชีวนะ ระบบและกลไกการควบคุมและการเฝ้าระวังการใช้ยาปฏิชีวนะรวมทั้งมาตรการส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในโรงพยาบาลรัฐและเอกชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล คลินิก และร้านยา ...
    • ผลกระทบด้านสุขภาพและเศรษฐศาสตร์จากการติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย : การศึกษาเบื้องต้น 

      ภาณุมาศ ภูมาศ; วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; ภูษิต ประคองสาย; ตวงรัตน์ โพธะ; อาทร ริ้วไพบูลย์; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Panumart Phumart; Tuangrat Phodha; Visanu Thamlikitkul; Arthorn Riewpaiboon; Phusit Prakongsai; Supon Limwattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09)
      การศึกษานี้ประเมินผลกระทบของการติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพต่อสุขภาพและความสูญเสียทางเศรษฐกิจของประเทศไทยด้วยมุมมองของสังคม โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิของผู้ป่วยที่รับไว้รักษาในโรงพยาบาลทุกระดับและข้อมูลการติดเชื้อในโรงพยาบาล 1,023 ...
    • การใช้ยาปฏิชีวนะและเชื้อแบคทีเรียดื้อยาปฏิชีวนะในสัตว์เลี้ยง 

      ดุลยทรรศน์ กรณฑ์แสง; ปานเทพ รัตนากร; Dulyatad Gronsang; Parntep Ratanakorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09)