Articles: ชิ้นงานเข้าใหม่
แสดงรายการ 1161-1180 จาก 1352
-
การศึกษาระบบเฝ้าระวังสุขภาพและสิ่งแวดล้อมในโรงงานอุตสาหกรรมนิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)การศึกษาเชิงพรรณนาเชิงสำรวจระบบเฝ้าระวังสุขภาพและสิ่งแวดล้อมของโรงงานในเขตนิคมอุตสาหกรรม จังหวัดลำพูน ทำในช่วงเดือนมกราคม – กันยายน 2542 กลุ่มตัวอย่างในการศึกษา คือ ผู้จัดการนิคมอุตสาหกรรม ผู้บริหารโรงงาน จำนวน 19 คน ... -
การใช้กระบวนการกลุ่มในการป้องกันภาวะเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด ในกลุ่มข้าราชการอำเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)การวิจัยเชิงปฏิบัติการครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการปรับพฤติกรรมด้วยกระบวนการกลุ่มในการป้องกันภาวะเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด ประชากรที่ศึกษาเป็นข้าราชการในเขตอำเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย จำนวน 395 คน โดยมีการรว ... -
ปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการคงอยู่ของภาวะเครียดหลังอุทกภัยในจังหวัดอ่างทอง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)เหตุการณ์อุทกภัยทำให้ประชาชนได้รับความเดือดร้อนจากความเสียหายของทรัพย์สินจำนวนมาก แม้ได้มีหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนให้ความช่วยเหลือ แต่ความรู้สึกสูญเสียของประชาชน ซึ่งยังเผชิญกับภาวะน้ำท่วมขังได้ก่อให้เกิดปัญหาความเครีย ... -
การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวาน อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)การศึกษานี้เป็นการศึกษากึ่งทดลอง ในช่วงเดือนมกราคม-มิถุนายน 2550 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองและการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 โดยเปรียบเ ... -
ทารุณกรรม การละเลยทอดทิ้งเด็ก และพฤติกรรมเสี่ยงถูกกระทำของเด็กในชุมชนชนบท จังหวัดขอนแก่น
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)การศึกษานี้เป็นการวิจัยวิธีระคน เพื่อศึกษาอุบัติการ รูปแบบ ปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับทารุณกรรมการละเลยทอดทิ้งเด็ก และพฤติกรรมเสี่ยงการถูกกระทำของเด็ก ในพื้นที่ที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลน้ำพอง อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น ... -
สุขภาพจิตประชากรอายุ 15-59 ปี อำเภอละงู จังหวัดสตูล
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)สถิติประชาชนอายุ 15-59 ปี ไปรับบริการที่โรงพยาบาลละงู เนื่องจากปัญหาสุขภาพจิตมีแนวโน้มสูงขึ้น โดย พ.ศ.2547, 2548 และ 2549 มีอัตรา 3,219.54, 3,538.6 และ 4,625.00 ต่อประชากรแสนคนตามลำดับ จำนวนผู้ป่วยโรคซึมเศร้าและจากการฆ่า ... -
บทเรียนการบรรเทาภัยพิบัติ สถานการณ์อุทกภัยน้ำท่วมโคลนถล่มอำเภอลับแล และการพัฒนาแผนบรรเทาภัยพิบัติทีมสาธารณสุขอำเภอลับแล
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)ในวันที่ 22-24 พฤษภาคม 2549 ได้เกิดภัยธรรมชาติฝนตกหนักที่อำเภอลับแล อำเภอเมือง อำเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์ และจังหวัดใกล้เคียง เกิดอุทกภัย ดินโคลนถล่ม ก่อให้เกิดความเสียหายรุนแรงต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ประชาชนเกื ... -
การมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันและควบคุมปัญหาสารเสพติด ต.ป่าตาล อ.ขุนตาล จ.เชียงราย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)การใช้สารเสพติดในชุมชนเป็นปัญหาทางสังคมในปัจจุบันที่นับวันยิ่งทวีความรุนแรงมากขึ้นก่อผลกระทบทั้งในครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ การป้องกันและการแก้ปัญหาดังกล่าวที่ไม่มีประสิทธิภาพ อาจนำไปสู่ปัญหาทางสังคมตามมาอีกมากมาย ... -
ผลการมีส่วนร่วมของชุมชน ในการแก้ปัญหาภาวะเด็กขาดสารอาหารและเด็กฟันผุ อำเภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)ภาวะขาดสารอาหารและสุขภาพช่องปากในเด็ก เป็นปัญหาที่สำคัญของประเทศ ซึ่งมีแนวทางการแก้ปัญหาดังกล่าวหลายรูปแบบมานานแล้ว แต่ยังพบปัญหาอยู่ตลอด ผู้ศึกษาจึงกำหนดรูปแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว โดยการคัดเลือกหมู่บ้านน้ำคา ... -
ปัจจัยที่มีผลต่อการควบคุมระดับแรงดันเลือดของผู้ป่วยความดันโลหิตสูง อำเภอท่าช้าง จังหวัดสิงห์บุรี
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการควบคุมระดับแรงดันเลือด 4 ประการ ได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยนำเข้า ปัจจัยเอื้อ และปัจจัยเสริม กลุ่มประชากรตัวอย่างที่ศึกษาเป็นผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง 381 คน ... -
ประสิทธิผลของคลินิกโรคหืด โรงพยาบาลด่านช้าง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)โรคหืดมีอุบัติการณ์สูงขึ้นมากในปัจจุบัน บั่นทอนสุขภาพและคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย บางรายอาจมีอาการนานๆครั้ง บางรายเป็นบ่อยมาก ทำให้ผู้ป่วยไม่สามารถทำงานได้ตามปรกติ และอาจทำให้เสียชีวิตได้ โรงพยาบาลด่านช้างได้จัดตั้งคลินิกโรค ... -
การพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยเบาหวานแบบผสมผสานของ CUP บรบือ จังหวัดมหาสารคาม
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)โรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรังไปตลอดชีวิต การรักษาเบาหวานที่จะได้ผลดีต้องมีการปรับพฤติกรรมของผู้ป่วย โดยการผสมผสานการดูแลของทีมสุขภาพและศาสตร์ของบริการ การทำงานครั้งนี้เพื่อพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยเบาหวานแบบผสมผสาน ... -
ผู้ป่วยภาวะไตล้มเหลวเฉียบพลันจากพิษงูแมวเซา 1 ราย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)หญิงไทยอายุ 41 ปี ถูกงูแมวเซากัดที่หลังเท้าซ้าย บริเวณแผลปวดบวมมีเลือดไหลซึม ได้รับเซรุ่มแก้พิษงูแมวเซา 40 มิลลิลิตรตั้งแต่วันแรก วันต่อมาอาเจียนเป็นเลือด มีเลือดออกทางช่องคลอด และปัสสาวะออกน้อย เกิดภาวะไตล้มเหลวเฉียบพลัน ... -
ความผันแปรของฤดูกาลกับโรคไข้เลือดออกในจังหวัดอุตรดิตถ์
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวโน้มการเกิดโรคไข้เลือดออก และความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิ ปริมาณน้ำฝน ความชื้นสัมพัทธ์กับจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำแนกรายปี เป็นการศึกษาเชิงพรรณนา โดยรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ ได้แก่ ... -
บริการคัดกรองผู้ป่วยเบาหวานและกลุ่มโรคเบาหวานโดยทีมสหวิชาชีพที่สถานีอนามัย อำเภอบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)เครือข่ายสุขภาพบางมูลนาก-ดงเจริญ จังหวัดพิจิตร มีนโยบายทำการป้องกันและควบคุมโรคเบาหวาน โดยจัดโครงการค้นหาผู้ป่วยด้วยเครื่องวัดระดับน้ำตาลจากปลายนิ้ว เมื่อพบผู้ที่มีระดับน้ำตาลสูงกว่า 110 มก./ดล. จึงส่งต่อโรงพยาบาลเพื่อเจ ... -
สถานการณ์การสูญเสียการได้ยินในโรงงานแปรรูปไม้ยางพารา จังหวัดนครศรีธรรมราช
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)การศึกษาสถานการณ์การสูญเสียการได้ยินในโรงงานแปรรูปไม้ยางพารา 1 แห่ง ในตำบลร่อนพิบูลย์ อำเภอร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช ในช่วงเดือนพฤษภาคม – มิถุนายน 2550 โดยการสำรวจสภาพแวดล้อม ระดับเสียงในพื้นที่การทำงาน และตรวจสมร ... -
การปรับตัวต่อปัญหาการเจ็บป่วยและแนวทางส่งเสริมการดูแลผู้ป่วยวัณโรค โดยครอบครัวและชุมชน ต.เชียงยืน อ.เชียงยืน จ.มหาสารคาม
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)การศึกษาวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการปรับตัวต่อการเจ็บป่วยของผู้ป่วยวัณโรค และแนวทางการส่งเสริมการดูแลผู้ป่วยวัณโรคโดยครอบครัวและชุมชนของผู้ป่วย กลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงคือผู้ป่วยวัณโรค ... -
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการลาป่วยของบุคลากรในโรงพยาบาลปราณบุรี
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)การวิจัยเรื่องปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการลาป่วยของบุคลากรในโรงพยาบาลปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เพื่อศึกษาสาเหตุการลาป่วยด้วยโรค/กลุ่มอาการที่มีผลต่อพฤติกรรมการลาป่วยของบุคลากร โรงพยาบาลปราณบุรี 174 คน ตามตัวแปรข ... -
การเกาะติดการรักษาและผลทางเวชกรรมในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรักษาที่โรงพยาบาลนางรอง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)ภูมิหลังและเหตุผล ในการใช้ยารักษาผู้ป่วยโรคเรื้อรัง การเกาะติดการรักษา หรือการเกาะติดยาของผู้ป่วย เป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลการรักษา ผู้ป่วยที่มีเกาะติดการรักษาต่ำ คือใช้ยาไม่สม่ำเสมอ ไม่ครบตามแพทย์สั่ง จะก่อผลร้ายต่อผู้ป่วย ... -
ประเมินผลนวัตกรรมระบบบริการสุขภาพ : ความร่วมมือของไตรภาคีในการสร้างโรงพยาบาลตำบล
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)การดำเนินงานครั้งนี้เป็นประเมินผลการสร้างนวัตกรรมระบบบริการสุขภาพโดยมุ่งเน้นการสร้างโรงพยาบาล ซึ่งมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อสร้างชุมชนที่เข้มแข็งและมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของประชาชนที่ยั่งยืน วิธีการดำเนินงานแบ่งเป็น 3 ระยะ ...