Articles: ชิ้นงานเข้าใหม่
แสดงรายการ 41-60 จาก 1352
-
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายด้านกฎหมายเพื่อขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาพและลดปัจจัยเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในประชาชนวัยทำงาน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)โรคไม่ติดต่อเรื้อรังจัดเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญของประชากรวัยทำงาน การสร้างเสริมสุขภาพในสถานประกอบการนับเป็นช่องทางสำคัญที่จะสามารถเข้าถึงคนกลุ่มนี้ได้ จึงจำเป็นต้องหาวิธีส่งเสริมให้มากขึ้น วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้ คือ ... -
กลไกเชื่อมโยงองค์ความรู้สู่นโยบายด้านสุขภาพและการค้าระหว่างประเทศ: กรณีศึกษาคณะกรรมการสนับสนุนการศึกษาและติดตามการเจรจาการค้าระหว่างประเทศที่มีผลกระทบต่อสุขภาพและนโยบายสุขภาพ (คจคส.)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)บทความวิจัยฉบับนี้มุ่งศึกษาการทำงานของคณะกรรมการสนับสนุนการศึกษาและติดตามการเจรจาการค้าระหว่างประเทศที่มีผลกระทบต่อสุขภาพและนโยบายสุขภาพ (คจคส.) ในฐานะกลไกเชื่อมโยงองค์ความรู้สู่นโยบาย เพื่อวิเคราะห์การดำเนินการและพิจารณ ... -
วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 17 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2566
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 17 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2566 ประกอบด้วย บทบรรณาธิการ เรื่อง การคลังสุขภาพในระบบสุขภาพปฐมภูมิ: ยกระดับหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดย ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย นิพนธ์ต้นฉบับ จำนวน 12 บทความ ... -
การคลังสุขภาพในระบบสุขภาพปฐมภูมิ: ยกระดับหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)ระบบสุขภาพปฐมภูมิเป็นปัจจัยสำคัญอย่างหนึ่งในการจัดประเภทระบบสุขภาพของประเทศต่างๆ เนื่องจากถ้ามีระบบสุขภาพปฐมภูมิที่ดี ประเทศจะสามารถควบคุมรายจ่ายด้านสุขภาพโดยรวม มีบริการที่มีคุณภาพ ได้ผลลัพธ์ทางสุขภาพสูง รวมทั้งแก้ปัญหา ... -
ถอดบทเรียนการจัดการแข่งขันกีฬานานาชาติในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)การถอดบทเรียนครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการดำเนินงานด้วยวิธีการทบทวนเอกสารและศึกษาประสบการณ์ดำเนินงานจากเรื่องเล่าของผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานจากหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนที่เต็มใจให้ข้อมูล จำนวน 50 คน ผ่านการสัม ... -
พฤติกรรมสุขภาพกับปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ในสามกลุ่มวัยของประชากรไทย ระหว่างการระบาดของโควิด-19
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)ภูมิหลังและเหตุผล: มาตรการป้องกันและควบคุมโควิด-19 ส่งผลกระทบต่อประชาชน ทำให้มีภาวะเครียด มีพฤติกรรมในการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และสูบบุหรี่มากขึ้น มีกิจกรรมทางกายลดน้อยลงหรือมีพฤติกรรมเนือยนิ่งเพิ่มขึ้น ทั้งนี้อายุเป็น ... -
รูปแบบการดูแลทางไกลด้วยระบบแยกกักตัวที่บ้านในมิติกำลังคนด้านสุขภาพในเขตสุขภาพที่ 12 ของไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ที่ส่งผลให้อัตรากำลังด้านสุขภาพไม่เพียงพอต่อการดูแลผู้ติดเชื้อ ก่อให้เกิดรูปแบบการดูแลแบบแยกกักตัวที่บ้านขึ้น และมีกลุ่มจิตอาสาด้านสุขภาพช่วยดูแลโดยใช้รูปแบบการดูแลทางไกล การวิจัยเชิงค ... -
บทบาทของเครือข่ายปฐมภูมิในการคัดกรองและเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงโควิด-19 ใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)การศึกษาวิจัยแบบผสมผสาน (mixed methods research) โดยใช้รูปแบบความสอดคล้องคู่ขนาน (convergent parallel design) เก็บข้อมูลการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพในพื้นที่จังหวัดยะลา ปัตตานีและนราธิวาส วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทขอ ... -
การพัฒนาสมรรถนะที่จำเป็นของพยาบาลในภาวะที่มีการระบาดของ COVID-19: กรณีศึกษาจังหวัดสงขลา
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)การวิจัยปฏิบัติการเชิงวิพากษ์ (emancipatory action research) ร่วมกับกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (action research) ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาสมรรถนะที่จำเป็นของพยาบาลวิชาชีพด้านการพยาบาลผู้ป่วย COVID-19 ... -
การบริหารจัดการกำลังคนด้านการพยาบาลและสมรรถนะของพยาบาลเพื่อตอบสนองภาวะวิกฤตโควิด-19 ในระบบบริการทุติยภูมิและตติยภูมิ เขตสุขภาพที่ 10
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)ผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ที่เพิ่มมากขึ้นทำให้บุคลากรสาธารณสุขในโรงพยาบาลต้องมีภาระงานเพิ่มขึ้นมาก โดยเฉพาะวิชาชีพพยาบาลที่มีบทบาทสำคัญในการดูแลผู้ป่วยโดยตรง ทำให้ต้องมีการบริหารอัตรากำลังด้านการพยาบา ... -
บทเรียนการจัดระบบบริการตติยภูมิในภาวะวิกฤติโควิด-19 พื้นที่ 4 จังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)การวิจัยผสานวิธีครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา บทเรียนการจัดระบบบริการตติยภูมิในภาวะวิกฤติโควิด-19 พื้นที่ 4 จังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ใช้กรอบ health-care capacity and utilization และ six building blocks ... -
ปัจจัยที่ส่งผลต่อความพึงพอใจต่อการจ้างงานของผู้ช่วยเหลือดูแลผู้มีภาวะพึ่งพิงในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อการจ้างงานของผู้ช่วยเหลือดูแลผู้มีภาวะพึ่งพิงระยะยาวในชุมชน ผ่านหน่วยบริการ/ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ/องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) และปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจใ ... -
การศึกษาความเป็นไปได้ทางการเงินของโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพของสถานพยาบาลโดยปรับใช้กรอบการประเมิน RE-AIM
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)กลุ่มโรคไม่ติดต่อ (non-communicable diseases, NCDs) นับว่าเป็นปัญหาหลักด้านสุขภาพทั่วโลก การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพของสถานพยาบาล (wellness center) โดยปรับใช้กรอบการประเมิน RE-AIM (reach, ... -
ผลของการสนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาองค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพ ในสถานบริการสุขภาพภาครัฐ ในปฏิบัติการ สาสุข อุ่นใจ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)การเป็นองค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพช่วยให้สถานบริการสุขภาพภาครัฐพัฒนาคุณภาพการบริการสุขภาพได้ดีขึ้น มีประสิทธิภาพมากขึ้น และมีผลโดยตรงต่อผู้ใช้บริการ สถาบันการแพทย์ของสหรัฐอเมริกา ให้คำนิยามแก่องค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพว่า ... -
สมรรถนะทางวัฒนธรรมของเภสัชกรโรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาสถานการณ์ของสมรรถนะทางวัฒนธรรมของเภสัชกรโรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขในประเทศไทย เพื่อเป็นข้อมูลสำหรับการวางแผนพัฒนาศักยภาพในมิติทางวัฒนธรรมแก่เภสัชกรไทยต่อไป วิธีการ: การศึกษาเชิงพร ... -
การจัดบริการสุขภาพปฐมภูมิยุคนโยบายสามหมอในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)ประชาชนไทยได้รับบริการสุขภาพปฐมภูมิแบบองค์รวมมาอย่างต่อเนื่อง การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อประเมินสถานการณ์บริการสุขภาพปฐมภูมิและระบุปัจจัยที่มีผลต่อการจัดบริการตามระบบสุขภาพที่พึงประสงค์ 7 ด้าน ได้แก่ การจัดบริการสุขภาพ ... -
วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2566
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2566 ประกอบด้วย บทบรรณาธิการ เรื่อง ความเป็นธรรมในงานวิจัย: เรียนรู้จากสถานการณ์โควิด โดย ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย นิพนธ์ต้นฉบับ จำนวน 11 บทความ ได้แก่ 1) ... -
ข้อเสนอการใช้ภูมิคุ้มกันบำบัดไรฝุ่นชนิดอมใต้ลิ้นและชนิดฉีดเข้าใต้ผิวหนังในการรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้และโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ร่วมกับโรคหืดในสถานการณ์การระบาดของโควิด-19
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)การระบาดของโควิด-19 ส่งผลต่อระบบการรักษาพยาบาลและทำให้ผู้ป่วยเข้าถึงการรักษาได้ยากมากขึ้น ซึ่งในที่สุดแล้วจะส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและส่งผลกระทบต่อสังคมในภาพรวม บทความนี้ได้ชี้ให้เห็นถึงปัญหาและความสำคัญที่จะต ... -
ระบบบริหารจัดการโรงพยาบาลสนามในสถานการณ์โควิด-19: กรณีศึกษาโรงพยาบาลบุษราคัม
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)โรงพยาบาลบุษราคัมเป็นโรงพยาบาลสนามขนาดใหญ่เฉพาะด้านในการดูแลผู้ป่วยโควิด-19 การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายระบบบริหารจัดการ ปัญหา/อุปสรรค และกลยุทธ์ในการบริหารจัดการของโรงพยาบาลบุษราคัมและให้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบา ... -
ต้นทุนรูปแบบบริการผู้ป่วยในโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ประเทศไทย: กรณีศึกษาโรงพยาบาล 5 แห่ง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาต้นทุนรูปแบบบริการสุขภาพ (health service models) ผู้ป่วยโควิด-19 ที่โรงพยาบาลจัดไว้สำหรับรองรับการรักษาตามระดับอาการของผู้ป่วย โดยวิเคราะห์ต้นทุนในมุมมองผู้ให้บริการ ใช้การวิเคราะห์ต้นท ...