Now showing items 281-300 of 1344

    • การเปรียบเทียบอาการปวดกล้ามเนื้อขณะใช้งานสมาร์ทโฟนระหว่าง 3 กลุ่มอายุ: เด็กนักเรียนประถม นักเรียนมัธยม และผู้ทำงานสำนักงาน 

      ภัทริยา อินทร์โท่โล่; Pattariya Intolo (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)
      ปัจจุบัน มีการใช้สมาร์ทโฟนกันอย่างกว้างขวางทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ จากการศึกษาที่ผ่านมาพบว่า ขณะใช้งานสมาร์ทโฟนนั้น ทำให้เกิดอาการปวด ซึ่งเป็นการศึกษาในกลุ่มนิสิตหรือนักศึกษาในมหาวิทยาลัยเท่านั้น ยังไม่มีการศึกษาในช่วงอายุอื่นๆ ...
    • การเข้ามาทำงานโรงพยาบาลในประเทศไทยของบุคลากรต่างชาติ 

      รุ่งฤดี วงค์ชุม; Rungrudee Wongchum; พีรนุช ลาเซอร์; Peeranuch LeSeure; อรทิพา ส่องศิริ; Onthipa Songsiri; พิชาภรณ์ จันทนกุล; Pichaporn Janthanakul; วิชชุดา เจริญกิจการ; Vishuda Charoenkitkarn; ชุติมา อรรคลีพันธุ์; Chutima Akaleephan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)
      การศึกษาการเข้ามาทำงานของบุคลากรสุขภาพชาวต่างชาติในประเทศไทยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะส่วนบุคคลของบุคลากรชาวต่างชาติที่เข้ามาทำงานโรงพยาบาลในประเทศไทย ปัจจัยที่ทำให้บุคลากรชาวต่างชาติตัดสินใจมาทำงานโรงพยาบาล ...
    • สถานะการทำงานและความพึงพอใจในการทำงานของนักกายภาพบำบัดไทยในภาครัฐและภาคเอกชน 

      สาริณี แก้วสว่าง; Sarinee Kaewsawang; วีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์; Virasakdi Chongsuvivatwong; บุญสิน ตั้งตระกูลวนิช; Boonsin Tangtrakulwanich (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)
      ในประเทศไทยนั้น กำลังคนด้านกายภาพมีความสำคัญเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากการก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ การคาดการณ์กำลังคนด้านนี้ในอีก 10 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2569) ก็เป็นเรื่องสำคัญเพื่อเป็นข้อมูลสำหรับกระทรวงสาธารณสุขในการเตรี ...
    • การรับรู้ของผู้บริหารโรงพยาบาลและผู้ปฏิบัติงานปฐมภูมิต่อนโยบายคลินิกหมอครอบครัว: ความเข้าใจ ความรู้สึก ความคาดหวัง ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ 

      เดชา คนธภักดี; Decha Khonthaphakdi; นวลฉวี เพิ่มทองชูชัย; Nualchavee Permthonchoochai; ยุพันธ์ จริยะธีรวงศ์; Yupan Jariyatheerawong; ฐานดา เกียรติเกาะ; Thanada Keatkor; นวลพรรณ พิมพิสาร; Nuanpan Pimpisan; สุพิชฌาย์ วิชิโต; Supitcha Wichito; อังคณา อินทรสอน; Angkana Intarason; พัชรพรรณ ทิพวงศา; Patcharapun Tippavongsa; ทัศนีย์ ชลวิรัชกุล; Tasanee Chonvirachkul; อรทัย ทรัพย์ปทุมสิน; Oratai Sappatumsin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)
      คลินิกหมอครอบครัวเป็นนโยบายที่สำคัญของกระทรวงสาธารณสุขในการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย การรับรู้ของผู้บริหารโรงพยาบาลและผู้ปฏิบัติงานปฐมภูมิภายใต้นโยบายนี้มีความสำคัญต่อการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ ทำให้ผู้บริหารทราบ ...
    • การสาธารณสุขไทยกับการวางแผนกำลังคนด้านการแพทย์แผนไทยในปี พ.ศ. 2569 

      รัชนี จันทร์เกษ; Rutchanee Chantraket; ปราโมทย์ เสถียรรัตน์; Pramote Stienrut; ทวี เลาหพันธ์; Tawee Laohapan; วัฒนศักดิ์ ศรรุ่ง; Wattanasak Sornrung; ศรัณยา จันษร; Sarunya Jansorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)
      การศึกษาสถานการณ์กำลังคนด้านการแพทย์แผนไทยในสถานบริการภาครัฐ การผลิตกำลังคนในสถาบันการศึกษา และความต้องการกำลังคนด้านการแพทย์แผนไทย เพื่อนำไปสู่การวางแผนการผลิตและพัฒนากำลังคนในอนาคต เป็นการศึกษาแบบผสมผสาน (mixed method) ...
    • ความต้องการกำลังคนวิชาชีพสาธารณสุขของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2569 

      บุญเรือง ขาวนวล; Boonruang Khaonuan; นงลักษณ์ พะไกยะ; Nonglak Pagaiya; ประยูร ฟองสถิตย์กุล; Prayoon Fongsatitkul; สถิรกร พงศ์พานิช; Sathirakorn Pongpanich; วิทยา อยู่สุข; Wittaya Yoosuk; ขวัญใจ อำนาจสัตย์ซื่อ; Kwanjai Amnatsatsue; ทัศนีย์ ศิลาวรรณ; Tasanee Silawan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)
      ประเทศไทย นอกจากจะต้องประสบกับปัญหาในด้านเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง ที่นำไปสู่ปัญหาความเหลื่อมล้ำแล้ว ระบบสุขภาพก็กำลังได้รับผลกระทบอันเนื่องมาจากปัจจัยต่างๆ ได้แก่ โครงสร้างประชากรที่กลายเป็นสังคมผู้สูงอายุมากขึ้นเรื่อยๆ ...
    • การคาดการณ์กำลังคนทางด้านอาชีพสัตวแพทย์ ปี พ.ศ. 2568 

      ศุกลรัตน์ บุณยยาตรา; Sukolrat Boonyayatra; สุวิชา เกษมสุวรรณ; Suwicha Kasemsuwan; วลาสินี มูลอามาตย์; Walasinee Moonarmart; กนกอร เอื้อเกษมสิน; Ganokon Urkasemsin; ภาณุวัฒน์ แย้มสกุล; Panuwat Yamsakul; ศิริพร เพียรสุขมณี; Siriporn Peansukmanee; ปริวรรต พูลเพิ่ม; Pariwat Poolperm; ชัยกร ฐิติญาณพร; Chaiyakorn Thitiyanaporn; ชูชาติ กมลเลิศ; Chuchart Kamollerd; กัลยา เจือจันทร์; Kanlaya Chauchan; เจษฎา จิวากานนท์; Jatesada Jiwakanon; พงษ์ศิวะ โสตถิพันธุ์; Pongsiwa Sotthibandhu; อภิรดี อินทรพักตร์; Apiradee Intarapuk; พรรณนิการ ชัยชนะศักดิ์; Pannigan Chaichanasak; ทนงศักดิ์ มะมม; Thanongsak Mamom; อุตรา จามีกร; Uttra Jamikorn; เกรียงยศ สัจจเจริญพงษ์; Kriengyot Sajjarengpong; พรชลิต อัศวชีพ; Pornchalit Assavacheep; ชัยวุฒิ ตั้งสมชัย; Chaiwut Tangsomchai; มานัดถุ์ คำกอง; Manad Khamkon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)
      อาชีพสัตวแพทย์เป็นอาชีพหลักที่ให้บริการด้านสุขภาพสัตว์ บริการทางด้านสัตวแพทย์นั้น ไม่เพียงแต่จะส่งผลต่อความเป็นอยู่ของสัตว์เท่านั้น แต่ยังส่งผลต่อสุขภาพของมนุษย์ ผ่านบทบาทที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยของอาหารและการควบคุมโร ...
    • การคาดการณ์กำลังคนในกลุ่มทันตบุคลากรของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2569 

      วรารัตน์ ใจชื่น; Wararat Jaichuen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)
      ประเทศไทยมีการประมาณการความต้องการทันตบุคลากรหลายครั้ง วิธีการหลักที่ใช้ประมาณการความต้องการทันตแพทย์อ้างอิงจากสภาวะทันตสุขภาพของประชากรแล้วนำมาแปลงเป็นบริการที่ประชากรควรได้รับในมุมมองของทันตแพทย์ และยังไม่พบการประมาณการฯ ...
    • การวิเคราะห์ความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพสำหรับระบบบริการระดับทุติยภูมิของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2569 

      พุดตาน พันธุเณร; Pudtan Phanthunane; อดุลย์ บำรุง; Adun Bamrung; ธิดาพร จิรวัฒนะไพศาล; Thidaporn Jirawattanapisal; นงลักษณ์ พะไกยะ; Nonglak Pagaiya; บุญเรือง ขาวนวล; Boonruang Khaonuan; ฑิณกร โนรี; Thinakorn Noree (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)
      การศึกษาครั้งนี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นข้อมูลเบื้องต้นในการวางแผนกำลังคนด้านสุขภาพของประเทศไทย วัตถุประสงค์ของการศึกษา เพื่อวิเคราะห์และพยากรณ์ความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพในการให้บริการทางสุขภาพระดับทุติยภูมิ โดยการวิเคราะห์ก ...
    • ความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพสำหรับระบบบริการปฐมภูมิในปี พ.ศ. 2569 

      นงลักษณ์ พะไกยะ; Nonglak Pagaiya; บุญเรือง ขาวนวล; Boonruang Khaonuan; พุดตาน พันธุเณร; Pudtan Phanthunane; อดุลย์ บำรุง; Adun Bamrung; ธิดาพร จิรวัฒนะไพศาล; Thidaporn Jirawattanapisal (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)
      การศึกษานี้เป็นการคาดการณ์ความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพสำหรับระบบบริการระดับปฐมภูมิในอนาคต (พ.ศ. 2569) ซึ่งครอบคลุมทั้งภาครัฐและเอกชน และครอบคลุมบริการ (1) การรักษาเบื้องต้นและการแพทย์แผนไทย (2) การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค ...
    • การใช้เครื่องช่วยฟังของคนพิการทางการได้ยินสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงระบบการให้บริการเครื่องช่วยฟัง 

      สุรเดช ดวงทิพย์สิริกุล; Suradech Doungthipsirikul; วิทธวัช พันธุมงคล; Witthawat Pantumongkol; อรพรรณ โพธิหัง; Orapan Photihang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-03)
      คนพิการทางการได้ยินสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า สามารถขอรับบริการเครื่องช่วยฟังได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายภายใต้เงื่อนไขที่กำหนด การศึกษาเชิงสำรวจภาคตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์การใช้เครื่องช่วยฟังในกลุ่มคนพิ ...
    • ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการใช้เครื่องช่วยฟังของคนพิการทางการได้ยินในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      วิทธวัช พันธุมงคล; Witthawat Pantumongkol; สุรเดช ดวงทิพย์สิริกุล; Suradech Doungthipsirikul; อรพรรณ โพธิหัง; Orapan Photihang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-03)
      การใส่เครื่องช่วยฟังเป็นวิธีการที่ช่วยให้ผู้สูญเสียการได้ยินสามารถฟังและสื่อสารได้ ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินชีวิตประจำวัน การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการใช้งานเครื่องช่วยฟัง ด้วยการวิเครา ...
    • คุณภาพยาในประเทศไทย: ข้อมูล 15 ปีจากโครงการประกันคุณภาพยา กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข 

      จันทนา พัฒนเภสัช; Juntana Pattanaphesaj; สมศักดิ์ สุนทรพาณิชย์; Somsak Sunthornphanich; สุรัชนี เศวตศิลา; Suratchanee Savetsila; โสมขจี หงษ์ทอง; Somkhachi Hongthong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-03)
      ยาไม่เข้ามาตรฐานก่อให้เกิดผลเสียหลายประการ เช่น อัตราการดื้อยาเพิ่มขึ้น เกิดอาการข้างเคียงหรือพิษจากยา อัตราการป่วยและเสียชีวิตเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ต้องใช้งบประมาณมากขึ้นในการรักษาพยาบาล รวมถึงบุคลากรทางการแพทย์ขาดความเชื่อ ...
    • การประเมินผลคุณภาพและมาตรฐานการให้บริการทางห้องปฏิบัติการของหน่วยบริการปฐมภูมิตามมาตรฐานกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2557-2559 

      เรวดี สิริธัญญานนท์; Raevadee Siritunyanont; วาสิฏฐี แก้วกระจ่าง; Wasittee Kaewkrajang; ปวีณา กมลรักษ์; Paweena Kamolrak (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-03)
      การจัดทำระบบคุณภาพและมาตรฐานทางห้องปฏิบัติการสำหรับหน่วยบริการปฐมภูมิ หรือ Primary Care Standard (PCS) ประกอบด้วย 8 หัวข้อใหญ่ 40 หัวข้อย่อย นำมาจัดเรียงเป็นแบบตรวจติดตามและประเมินผล (checklist) เพื่อให้หน่วยบริการปฐมภูม ...
    • การพัฒนากลุ่มโรคร่วมผู้ป่วยในจิตเวช ฉบับที่ 3 

      อรทัย เขียวเจริญ; Orathai Khiaocharoen; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai; ชัยโรจน์ ซึงสนธิพร; Chairoj Zungsontiporn; เบ็ญจมาส พฤกษ์กานนท์; Benjamas Prukkanone; นิชนันท์ รอดเนียม; Nichanan Rodneam (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-03)
      บริการผู้ป่วยจิตเวชเป็นเรื่องสำคัญในการจัดระบบบริการสุขภาพ เพราะทรัพยากรที่ใช้ในการดูแลผู้ป่วยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จากการเปลี่ยนแปลงของสภาพสังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการจัดกลุ่มโ ...
    • บทเรียนจากความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก (TPP): ผลกระทบต่อการควบคุมยาสูบของไทย 

      ไพศาล ลิ้มสถิตย์; Paisan Limstit; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; Siriwan Pitayarangsarit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-03)
      ความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก หรือ Trans-Pacific Partnership Agreement หรือ (TPP) เป็นความตกลงการค้าและการลงทุนระดับภูมิภาครูปแบบใหม่ที่มีเนื้อหาซับซ้อนและครอบคลุมมากกว่าความตกลงขององค์การการค้าโลก จนอาจเปิดโ ...
    • การหาปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเลือกวัคซีนใหม่ในประเทศไทยโดยวิธี best-worst scaling 

      ศิริพร ภูริภัสสรกุล; Siriporn Pooripussarakul; อาทร ริ้วไพบูลย์; Arthorn Riewpaiboon; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; จรุง เมืองชนะ; Charung Muangchana; Bishai, David (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-03)
      การนำวัคซีนใหม่เข้ามาใช้ขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย ได้แก่ นโยบาย แนวทางปฏิบัติ และการประเมินทางเศรษฐศาสตร์ ผู้ที่เกี่ยวข้องต่างๆ จึงพิจารณาปัจจัยสำคัญที่แตกต่างกันไปในการนำวัคซีนใหม่เข้าสู่โครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันแห่งชาติ ...
    • ประโยชน์และโทษที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้กัญชาในทางการแพทย์และการเปิดเสรีการใช้กัญชา 

      ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; โชษิตา ภาวสุทธิไพศิฐ; Chosita Pavasuthipaisit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-03)
      กัญชาเป็นพืชที่มีสารออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทและที่ก่อให้เกิดการเสพติดซึ่งมีทั้งประโยชน์และโทษหลายประการ กัญชาถูกจัดไว้ในรายการยาเสพติดตามกฎหมายของหลายๆ ประเทศ รวมถึงประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2558-2559 มีความเคลื่อนไหวจากหน่วยงานขอ ...
      Tags:
      Top hit
    • ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการขายบุหรี่ให้เยาวชนของผู้ประกอบการร้านค้าปลีกในเขตสุขภาพที่ 2 

      จักรพันธ์ เพ็ชรภูมิ; Chakkraphan Phetphum; ณรงค์ศักดิ์ หนูสอน; Narongsak Noosorn; อาทิตยา วังวนสินธุ์; Artittaya Wangwonsin; บุญชณัฎฐา พงษ์ปรีชา; Boonchanuttha Pongpreecha (2561-03)
      การสูบบุหรี่ของเยาวชนไทยเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญมาอย่างต่อเนื่อง ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการละเมิดกฎหมายการห้ามขายบุหรี่ให้เยาวชนของผู้ประกอบการร้านค้าปลีก การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับ ...
    • สถานการณ์จุดจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 

      จิราภรณ์ กมลรังสรรค์; Jirapron Kamonrungsan; นงนุช ใจชื่น; Nongnuch Jaichuen; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-03)
      การจำหน่ายและความหนาแน่นของร้านจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เป็นปัจจัยที่มีผลต่อการเข้าถึงและการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์และการปฏิบัติตามกฎหมายของจุดจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ...