Now showing items 321-340 of 1352

    • บทเรียนจากการขยายผลสู่ความยั่งยืนของโครงการส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล 

      สมหญิง พุ่มทอง; Somying Pumtong; พัชรี ดวงจันทร์; Patcharee Duangchan; กัญญดา อนุวงศ์; Kunyada Anuwong; นิธิมา สุ่มประดิษฐ์; Nithima Sumpradit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)
      โครงการ Antibiotics Smart Use (ASU) เริ่มในปี พ.ศ. 2550 โดยสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา มีเป้าหมายเพื่อสร้างบรรทัดฐานใหม่ทางสังคมในการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลของประเทศไทย งานวิจัยเชิงคุณภาพครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึ ...
    • ผลการรณรงค์โดยใช้ทีมผู้นำการเปลี่ยนแปลงและสื่อกระแสหลักต่อแนวคิดและบรรทัดฐานทางสังคมเกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล 

      พัชรี ดวงจันทร์; Patcharee Duangchan; สมหญิง พุ่มทอง; Somying Pumtong; นิธิมา สุ่มประดิษฐ์; Nithima Sumpradit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)
      งานวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการรณรงค์แนวคิดการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล (Antibiotic Smart Use: ASU) ผ่านสื่อบุคคลและสื่อกระแสหลัก และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างบรรทัดฐานทางสังคมเกี่ยวกั ...
    • ปริมาณและมูลค่าการสั่งยาต้านแบคทีเรียแก่ผู้ป่วยนอกในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      นพคุณ ธรรมธัชอารี; Noppakun Thammatacharee; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; Onanong Waleekhachonloet; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)
      ที่มา: การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างไม่สมเหตุผลมีผลทำให้เกิดโรคติดเชื้อที่ดื้อต่อยาต้านจุลชีพ เป็นปัญหาทั้งทางสุขภาพและทางเศรษฐกิจที่สำคัญของโลก วัตถุประสงค์: เพื่อวิเคราะห์ปริมาณและมูลค่าการใช้ยาต้านแบคทีเรีย (ซึ่งเป็นส่วนหนึ ...
    • การดำเนินงานชุดโครงการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทยตามแผนปฏิบัติการการดื้อยาต้านจุลชีพขององค์การอนามัยโลก 

      วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; Visanu Thamlikitkul; ภิญโญ รัตนาอัมพวัลย์; Pinyo Rattanaumpawan; อธิรัฐ บุญญาศิริ; Adhiratha Boonyasiri; รุจิภาส สิริจตุภัทร; Rujipas Sirijatuphat; ศศิ เจริญพจน์; Sasi Jaroenpoj (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)
      โครงการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทยได้ดำเนินการ 10 กิจกรรม ในการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพตามแผนปฏิบัติการการดื้อยาต้านจุลชีพขององค์การอนามัยโลก ได้แก่ 1) ประมาณการขนาดปัญหาการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย ...
    • วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2560 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; จรวยพร ศรีศศลักษณ์; สรชัย จำเนียรดำรงการ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2560 มี 12 บทความ ประกอบด้วย 1. ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักศึกษาในเขตเมือง โดย นพพล วิทย์วรพงศ์ และคณะ 2. ความแตกต่าง ...
    • กระบวนการนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพสู่การขับเคลื่อนจังหวัดตรังปลอดบุหรี่ 

      นัยนา หนูนิล; Naiyana Noonil; สายฝน เอกวรางกูร; Saifon Aekwarangkoon; เรวดี เพชรศิราสัณห์; Rewwadee Petsirasan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      การวิจัยแบบผสมผสานระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพเน้นการวิจัยเชิงปฏิบัติการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการดำเนินงานขับเคลื่อนจังหวัดตรังปลอดบุหรี่ โดยใช้แนวคิดกระบวนการนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ ...
    • ดัชนีราคาค่าแรงแพทย์ในประเทศไทย 

      พัฒนาวิไล อินใหม; Phatthanawilai Inmai; พุดตาน พันธุเณร; Pudtan Phanthunane; ถาวร สกุลพาณิชย์; Thaworn Sakunphanit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำและพัฒนาดัชนีราคาค่าแรงแพทย์ในประเทศไทย ทั้งในภาครัฐและเอกชน ดัชนีราคาค่าแรงถูกพัฒนาอย่างต่อเนื่องในต่างประเทศ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์และแคนาดาในการตรวจวัดต้นทุนค่าแรง ...
    • ความแตกต่างของพฤติกรรมการบริโภคอาหารของประชากรไทย: ลักษณะประชากร เศรษฐกิจและสังคม และสถานะสุขภาพส่งผลอย่างไร 

      ชัชวาลย์ เผ่าเพ็ง; Chatchawarn Paopeng; สุลัดดา พงษ์อุทธา; Suladda Pongutta; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสมเป็นสาเหตุสำคัญที่นำไปสู่โรคอ้วนและโรคไม่ติดต่อเรื้อรังซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นในประเทศไทย การศึกษาครั้งนี้ได้วิเคราะห์ความเกี่ยวข้องระหว่างพฤติกรรมการบริโภคอาหารของประชากรไทยที่มีอายุ ...
    • ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักศึกษาในเขตเมือง 

      นพพล วิทย์วรพงศ์; Nopphol Witvorapong; สันต์ สัมปัตตะวนิช; San Sampattavanija; ธนะพงษ์ โพธิปิติ; Tanapong Potipiti; ธานี ชัยวัฒน์; Thanee Chaiwat; พัชรสุทธิ์ สุจริตตานนท์; Pacharasut Sujarittanonta; ธีระ วรธนารัตน์; Thira Woratanarat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร โดยมีกลุ่มเป้าหมาย คือ นิสิต/นักศึกษาจากมหาวิทยาลัย 3 แห่ง รวม 375 คน ระเบียบวิธีวิจัย คือ การทดลองภาคสนาม ...
    • ความสัมพันธ์ของปัจจัยกับพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพช่องปากด้วย PRECEDE Framework ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย 

      ศุภกร ศิริบุรี; Supakorn Siriburee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      โรคฟันผุและเหงือกอักเสบเป็นปัญหาสำคัญและเรื้อรังทางทันตสาธารณสุขโดยเฉพาะในเด็กและเยาวชน เด็กนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา โดยเฉพาะชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นนั้น ยังขาดการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างสม่ำเสมอ การศึกษานี้ได้ใช้ทฤษฎี PRECEDE ...
    • การใช้บริการรักษาพยาบาลแบบผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน และความจำเป็นทางสุขภาพที่ไม่ได้รับการตอบสนองของประชากรเขตกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558 

      จุฑาทิพ ทั่งทอง; Jutatip Thungthong; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; Onanong Waleekhachonloet; สุรัชดา ชนโสภณ; Suratchada Chanasopon; คุณากร เอี้ยวสุวรรณ; Kunakorn Aewsuwan; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      แม้การบรรลุระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545 จะช่วยให้คนไทยทั้งประเทศเข้าถึงบริการสุขภาพได้มากขึ้น แต่ประชากรกรุงเทพฯ ก็ยังคงมีปัญหาเข้าถึงการรักษาพยาบาลมากที่สุด เนื่องจากโครงสร้างพื้นฐานระบบบริการสุขภาพของกรุงเทพฯ ...
    • การดูแลแบบองค์รวมและการบริการสุขภาพด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์: กรณีศึกษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ที่สถาบันบำราศนราดูร 

      พนารัตน์ วิศวเทพนิมิตร; Panarut Wisawatapnimit; กมลรัตน์ เทอร์เนอร์; Kamolrat Turner (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      การดูแลสุขภาพแบบองค์รวมและการบริการสุขภาพด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ เป็นบริการที่สำคัญของบุคลากรด้านสุขภาพ การแพทย์ในปัจจุบันที่เน้นมิติทางชีววิทยา อาจทำให้เกิดการละเลยทางด้านจิตสังคมและจิตวิญญาณ ผู้ใช้บริการอาจรู้สึกว่าคุณ ...
    • การใช้บริการรักษาพยาบาลของคนไทยที่ไม่มีหรือไม่ทราบสิทธิประกันสุขภาพ 

      ประสิทธิ บุญเกิด; Prasit Boonkerd; สุรัชดา ชนโสภณ; Suratchada Chanasopon; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; Thananan Rattanachotphanit; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      การศึกษานี้วิเคราะห์การใช้บริการรักษาพยาบาลโรคทั่วไปของคนไทยในกลุ่มที่ไม่มีสิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลใดๆ หรือไม่ทราบสิทธิ รวมถึงไม่ได้รับการขึ้นทะเบียนสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า วิเคราะห์ข้อมูลลักษณะทางประชากร เศรษฐฐานะ ...
    • การดูแลรักษาพยาบาลตนเองของประชาชนไทยโดยการซื้อยาจากร้านขายยาแผนปัจจุบัน 

      รังสรรค์ ศรีภิรมย์; Rangsan Sripirom; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; Thananan Rattanachodpanich; ภานุมาศ ภูมาศ; Panumas Phumas; สุมนต์ สกลไชย; Sumon Sakolchai; กรแก้ว จันทภาษา; Kornkaew Chantapasa; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้ามีเป้าหมายให้คนไทยเข้าถึงบริการสาธารณสุขที่จำเป็น เพื่อลดค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของครัวเรือน อย่างไรก็ตามยังมีประชาชนที่ไม่ไปใช้บริการในสถานพยาบาล แต่ซื้อยามารักษาตนเองจากร้านยา ซึ่งส่วนใหญ่เป็นย ...
    • คนไทยใช้พลังงานในกิจกรรมทางกายและพฤติกรรมเนือยนิ่งเท่าไร: ข้อมูลจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2558 

      ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; นุชราภรณ์ เลี้ยงรื่นรมย์; Nucharapon Liangruenrom; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; วิชชุกร สุริยะวงศ์ไพศาล; Wichukorn Suriyawongpaisan; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพลังงานที่ใช้ในกิจกรรมทางกายระดับปานกลางและหนักและพฤติกรรมเนือยนิ่งของประชากรไทยทั้งประเทศ โดยจำแนกพลังงานที่ใช้ตามกลุ่มกิจกรรม ได้แก่ การทำงาน การเดินทาง นันทนาการ และพฤติกรรมเนือยนิ่ง ...
    • ผู้ป่วยด้วย NCD มีพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพอยู่มากน้อยแค่ไหน: รายงานจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2558 

      อมรรัตน์ มานะวัฒนวงศ์; Amonrat Manawatthanawong; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      กลุ่มโรคไม่ติดต่อ (Non-communicable diseases: NCDs) เป็นปัญหาสาธารณสุขสำคัญและเป็นโรคที่สามารถป้องกันได้โดยการลดปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพโดยเฉพาะการสูบบุหรี่ การดื่มแอลกอฮอล์ การรับประทานอาหารที่ไม่ดีต่อสุขภาพ และการมีกิจกรร ...
    • การสร้างดัชนีความลาดเอียงของความไม่เสมอภาค (Slope Index of Inequalities) ในการใช้บริการรักษาพยาบาลภาครัฐของประชากรในพื้นที่เขตสุขภาพ 

      สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      สำหรับการวิเคราะห์ความไม่เสมอภาคในการใช้-ไม่ใช้บริการสุขภาพของประชากรในพื้นที่นั้น มาตรวัดที่แนะนำ คือ ดัชนีความลาดเอียงของความไม่เสมอภาค (slope index of inequalities) ซึ่งได้จากการหาความสัมพันธ์ของความแตกต่างระหว่างพื้น ...
    • วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2560 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; จรวยพร ศรีศศลักษณ์; สรชัย จำเนียรดำรงการ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)
      วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2560 มี 12 บทความ ประกอบด้วย 1. การใช้บริการผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน ในสถานพยาบาลประเภทต่างๆ ของประชากรไทย พ.ศ. 2558 โดย ชาฮีดา วิริยาทร และคณะ 2. การใช้บริการท ...
    • สถานการณ์การเข้าพักรักษาตัวในโรงพยาบาลและการมีผู้ดูแลในขณะพักฟื้นของผู้สูงอายุในประเทศไทย 

      คุณากร เอี้ยวสุวรรณ; Kunakorn Ieawsuwan; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; Thananan Rattanachodpanich; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)
      สัดส่วนผู้สูงอายุในประเทศไทยเท่ากับร้อยละ 16 ของประชากรทั้งหมดในประเทศ เฉพาะผู้สูงอายุที่ต้องเข้ารับการรักษาพยาบาลนั้น เมื่อจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล ส่วนใหญ่ต้องการความช่วยเหลือในกิจวัตรประจำวัน การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เ ...
    • พฤติกรรมบริการอย่างมีมนุษยธรรม : มุมมองระหว่างผู้ป่วยกับผู้ให้บริการ 

      ชื่นฤทัย ยี่เขียน; Chuenrutai Yeekian (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)
      การวิจัยเชิงสำรวจแบบภาคตัดขวางนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบมุมมองของผู้ป่วยและผู้ให้บริการต่อพฤติกรรมการให้บริการอย่างมีมนุษยธรรม กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยในและผู้ให้บริการที่โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ...