แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

ความสม่ำเสมอในการกินยากันชักเฟนีย์โทอิน

dc.contributor.authorสักรินทร์ สมศักดิ์en_US
dc.contributor.authorSakkarin Somsaken_US
dc.contributor.authorนันทวัน สมศักดิ์en_US
dc.contributor.authorNantawan Somsaken_US
dc.coverage.spatialนครศรีธรรมราชen_US
dc.date.accessioned2008-10-02T06:59:23Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T15:55:17Z
dc.date.available2008-10-02T06:59:23Zen_US
dc.date.available2557-04-16T15:55:17Z
dc.date.issued2551en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 2,1 (ม.ค.-มี.ค. 2551), (ฉบับเสริม 3) : 604-607en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/312en_US
dc.description.abstractเฟนีย์โทอินเป็นยาที่ใช้ในการป้องกันและรักษาผู้ป่วยโรคลมชัก เนื่องจากการใช้ยายังมีปัญหาในทางเวชกรรมที่ต้องติดตามความสม่ำเสมอในการใช้ยาและระดับยาในเลือด เพราะยามีช่วงการรักษาแคบ, ระดับยาในพลาสมาเข้าสู่สภาวะคงที่ช้า, ค่าตัวชี้วัดประกอบทางเภสัชจลนศาสตร์มีช่วงกว้าง และลักษณะไม่เป็นเส้นตรง ทำให้บางครั้งเกิดภาวะพิษยาหรือไม่สามารถควบคุมการชักได้ ผลการศึกษาการใช้ยาเฟนีย์โทอินในผู้ป่วยของโรงพยาบาลพรหมคีรี จำนวน 75 ราย, อายุ 18-60 ปี, อัตราส่วน ชาย:หญิง 1.58:1, น้ำหนักตัว 38-86 กิโลกรัม (เฉลี่ย 46.07 กก.), และผลตรวจการทำงานของตับและไตอยู่ในเกณฑ์ปรกติ ขนาดยาที่กิน 100-500 มก./วัน แต่ส่วนใหญ่กินวันละ 300 มก. จากการศึกษาติดตามพบผู้ป่วยที่กินยาไม่สม่ำเสมอ 15 ราย (ร้อยละ 20 ของผู้ป่วยที่ศึกษา) จากการตรวจสอบนับเม็ดยา, อนุทินการกินยา, การสอบถาม, และการตรวจพบระดับยาในเลือดครั้งที่ 1 แตกต่างจากระดับยาในเลือดครั้งที่ 2 เกิน 3 มิลลิกรัมต่อลิตร ข้อมูลจากการศึกษานี้จะได้นำไปใช้วางแผนการรักษาที่เหมาะสมต่อไป เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับผลการรักษาและคุณภาพซีวิตที่ดีตามเป้าประสงค์th_TH
dc.format.extent179550 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleความสม่ำเสมอในการกินยากันชักเฟนีย์โทอินen_US
dc.title.alternativeCompliance in Taking the Anticonvulsant Phenytoinen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativePhenytoin is an anticonvulsant commonly prescribed for prophylaxis and the treatment of patients with generalized or partial seizures. Therapeutic drug monitoring of phenytoin is mandatory owing to its narrow therapeutic range, long duration to achieve steady-state plasma drug concentration, wide range of pharmacokinetic parameters and non-linear pharmacokinetics. This descriptive study was carried out to determine the patients’ compliance in taking phenytoin at the Promkiri Hospital epileptic out-patient clinic during the period March to July 2007. The subjects were 75 patients aged 18-60 years; the male to female ratio was 1.58:1, with their average body weight being 46.07 kg, and all had normal liver and renal functions. The dose of phenytoin used varied from 100 to 500 mg/day; the median dose was 300 mg/day. Drug non-compliance was verified in 15 patients (20 per cent of the subjects ) from pill counting, missing drug-taking days, and checking serum phenytoin concentrations. The result of this study would lead to urgent planning implemented for future patients’ therapy in order to improve the success rate in the administration of phenytoin.en_US
dc.subject.keywordเฟนีย์โทอินen_US
dc.subject.keywordการใช้ยาen_US
dc.subject.keywordPhenytoinen_US
.custom.citationสักรินทร์ สมศักดิ์, Sakkarin Somsak, นันทวัน สมศักดิ์ and Nantawan Somsak. "ความสม่ำเสมอในการกินยากันชักเฟนีย์โทอิน." 2551. <a href="http://hdl.handle.net/11228/312">http://hdl.handle.net/11228/312</a>.
.custom.total_download710
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month19
.custom.downloaded_this_year126
.custom.downloaded_fiscal_year26

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri-journal-v2n1 ...
ขนาด: 179.3Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย