แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการลาป่วยของบุคลากรในโรงพยาบาลปราณบุรี

dc.contributor.authorประสงค์ ปานไพรศลen_US
dc.contributor.authorPrasong Panpraisolen_US
dc.coverage.spatialประจวบคีรีขันธ์en_US
dc.date.accessioned2008-10-03T07:48:13Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T15:56:20Z
dc.date.available2008-10-03T07:48:13Zen_US
dc.date.available2557-04-16T15:56:20Z
dc.date.issued2550en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 1,2 (ก.ค.-ก.ย. 2550) (ฉบับเสริม1) : 229-235en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/365en_US
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการลาป่วยของบุคลากรในโรงพยาบาลปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เพื่อศึกษาสาเหตุการลาป่วยด้วยโรค/กลุ่มอาการที่มีผลต่อพฤติกรรมการลาป่วยของบุคลากร โรงพยาบาลปราณบุรี 174 คน ตามตัวแปรข้อมูลทั่วไปทางประชากรที่ศึกษา ได้แก่ เพศ อายุ รายได้ ตำแหน่ง แผนก/หน่วยงาน ประเภทอาชีพ, การศึกษาย้อนหลัง 2 ปี โดยรวบรวมข้อมูลการลาป่วยของบุคคลกลุ่มดังกล่าว ในช่วง 1 ตุลาคม 2547 – 30 กันยายน 2549 วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ไฆ-สแควร์ และหาความสัมพันธ์ของปัจจัยที่มีผลกับพฤติกรรมการลาป่วย จากการศึกษาพบว่ามีผู้ที่ลา 135 คน (ร้อยละ 77.6) และไม่ลา 39 คน (ร้อยละ 22.8) มีพฤติกรรมการลาป่วยเฉลี่ย 2.54 ครั้ง ลาน้อยกว่า 2 ครั้ง ร้อยละ 35.4 จำนวนวันลาป่วย 0.5-2 วัน/ครั้ง ร้อยละ 84.1 ไม่พบความสัมพันธ์ของปัจจัยกับผลต่อพฤติกรรมการลาของบุคลากรตามลักษณะทั่วไปทางประชากร (เพศ อายุ รายได้ ตำแหน่งหน้าที่ แผนก/หน่วยงานและประเภทอาชีพ)en_US
dc.format.extent172865 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการลาป่วยของบุคลากรในโรงพยาบาลปราณบุรีen_US
dc.title.alternativeFactors Relating to Sick Leave Behavior of Personnel in Pranburi Hospitalen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeThis research studied the factors related to the sick leave behavior of personnel in Pranburi Hospital, Prachuap Kiri Khan Province to determine the reasons for sick leave behavior as it related to disease/symptoms, age, sex, income, position, section/institute, and type of career. The study population numbered 174. Retrospective research was used to compile data on sick leave based on requests for leave of absence over the period from October 1, 2004 to September 30, 2006. Analysis of the data was by statistics, percentages, averages, standard deviation, and Chi-square. Most of the personnel took sick leave an averae of 2.54 times over the two-year period; a frequent reason for taking sick leave was respiratory system disease (35.4%). The number of days of sick leave ranged from 0.5 to 2 days/time (84.1%), but there was no significance according to age, sex, income, position, section/institute, or type of career.en_US
dc.subject.keywordพฤติกรรมการลาป่วยen_US
dc.subject.keywordบุคลากรโรงพยาบาลen_US
.custom.citationประสงค์ ปานไพรศล and Prasong Panpraisol. "ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการลาป่วยของบุคลากรในโรงพยาบาลปราณบุรี." 2550. <a href="http://hdl.handle.net/11228/365">http://hdl.handle.net/11228/365</a>.
.custom.total_download990
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month11
.custom.downloaded_this_year146
.custom.downloaded_fiscal_year29

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri-journal-v1n2 ...
ขนาด: 173.2Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย