Lessons Learned in Primary Care Management under the Universal Health-care Coverage Scheme in the Contracting Unit for Primary Care, Phu Kradueng Hospital
dc.contributor.author | เกรียงศักดิ์ วัชรนุกูลเกียรติ | en_US |
dc.contributor.author | Kriengsak Vacharanukulkieti | en_US |
dc.coverage.spatial | เลย | en_US |
dc.date.accessioned | 2008-10-03T07:59:41Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-16T15:56:38Z | |
dc.date.available | 2008-10-03T07:59:41Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-16T15:56:38Z | |
dc.date.issued | 2550 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 1,2 (ก.ค.-ก.ย. 2550) (ฉบับเสริม 1) : 255-271 | en_US |
dc.identifier.issn | 0858-9437 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/383 | en_US |
dc.description.abstract | การดำเนินการครั้งนี้เป็นการถอดบทเรียนการบริหารจัดการบริการสุขภาพปฐมภูมิของคู่สัญญาระดับปฐมภูมิโรงพยาบาลภูกระดึง ซึ่งได้รับรางวัลหน่วยบริการนวัตกรรม ด้านหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าดีเด่น (เหรียญทอง) ประเภทบริหารจัดการ (Universal Coverage Innovation Award, UCIA) จากสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) เมื่อ พ.ศ. 2547 โดยการศึกษาและถอดบทเรียนการบริหารจัดการทั้งด้านโครงสร้าง กระบวนการทำงาน และผลลัพธ์ โดยเปรียบเทียบข้อมูลและสัดส่วนของการบริหารจัดการ ผลงานการบริหารหรือผลลัพธ์ของงานทั้งก่อนและหลังโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า และเปรียบเทียบผลงานกับหน่วยบริการอื่นในระดับจังหวัด ผลการดำเนินงานพบว่าคู่สัญญาระดับปฐมภูมิโรงพยาบาลภูกระดึงสามารถจัดบริการปฐมภูมิได้ตามมาตรฐานกำลังคน โดยกระจายพยาบาลจากโรงพยาบาลภูกระดึงไปปฏิบัติงานเป็นการประจำที่สถานีอนามัย ทำให้ทุกสถานีอนามัยผ่านเกณฑ์มาตรฐานกำลังคนทั้งด้านปริมาณ (1:1,250) และด้านคุณภาพ (มีพยาบาลวิชาชีพทุกสถานีอนามัย) ทั้งที่โรงพยาบาลมีบุคลากรน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศเกือบเท่าตัว ขณะเดียวกันได้จัดระบบบริการสุขภาพที่ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง (customer focus) ทำให้ขยายเวลาราชการทั้งในแนวราบและแนวลึกในโรงพยาบาลและสถานีอนามัย นอกจากนี้ยังมีการคิดนอกกรอบเรื่องการจัดกระจายทรัพยากร การขยายบริการ และการบริหารจัดการ เช่น การจ้าง เช่นเดียวกับภาคเอกชน มีการจ่ายเงินตามค่าตอบแทนตามผลสัมฤทธิ์ของงาน (Performance-based budgeting system) นอกจากนี้ยังได้มีการสร้างเครื่องมือวินิจฉัยภาวะสุขภาพของครอบครัว 4 ระดับ ทำให้เจ้าหน้าที่สามารถวางแผนการดูแลสุขภาพอย่างเป็นระบบอย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ยังชี้ให้เห็นว่าถึงแม้จะเป็นหน่วยงานขนาดเล็ก แต่หากมีความมุ่งมั่นในการพัฒนา ก็สามารถแก้ไขปัญหาใหญ่ๆ ได้ ลดค่าใช้จ่ายของประชาชนทั้งทางตรงและทางอ้อม โดยสรุปการบริหารจัดการที่ดีต้องเริ่มต้นจากการตั้งเป้าหมายให้ชัด แล้วพยายามทำให้ปัจจัยนำเข้ามีอย่างเพียงพอตามมาตรฐาน โดยอาศัยกระบวนการบริหารจัดการแบบภาคเอกชน จะสามารถทำให้บรรลุเป้าหมายได้ | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.subject | บริการปฐมภูมิ | th_TH |
dc.subject | ระบบประกันสุขภาพ | th_TH |
dc.subject | Universal Health Coverage | en_EN |
dc.title | บทเรียนการบริหารจัดการบริการปฐมภูมิภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า : คู่สัญญาระดับปฐมภูมิโรงพยาบาลภูกระดึง | en_US |
dc.title.alternative | Lessons Learned in Primary Care Management under the Universal Health-care Coverage Scheme in the Contracting Unit for Primary Care, Phu Kradueng Hospital | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dc.description.abstractalternative | This study assesses some of the lessons learned in primary care management under the universal health-care coverage scheme in the contracting unit for primary care at PhuKradueng Hospital, which received the Golden Universal Coverage Innovation Award (UCIA) from the National Health Security Office in 2004. The study was conducted by analyzing the hospital’s management in terms of structure, process and output, comparing the outcome before and after starting the universal coverage programme and comparing the outcome with that of other contracting units for primary care in the same province. This study showed that the contracting unit for primary care could meet service standards in manpower by motivating nurses from Phu Kradueng Hospital to work in subdistrict health centers. Every subdistrict health center could meet the manpower standard in terms of quantity (health officer per population 1:1,250) and quality (every subdistrict health center operated with more than one nurse). Although the manpower levels were lower than the mean for the whole country, Phu Kradueng Hospital could still provide health services with a customer-focus policy, extending service times in both the hospital and subdistric health centers. Among its innovations were those related to the distribution of resources, recruiting manpower as in the private sector, paying staff according to a performance-based budgeting system, and dividing family health status into four levels, which enabled health officers to plan in a systematic maneuver to provide efficient health care. This study concluded that a small rural health service unit could provide standard services while reducing indirect and direct household costs, if the health organization had a common goal, modified private management and managed human resources efficiently | en_US |
.custom.citation | เกรียงศักดิ์ วัชรนุกูลเกียรติ and Kriengsak Vacharanukulkieti. "บทเรียนการบริหารจัดการบริการปฐมภูมิภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า : คู่สัญญาระดับปฐมภูมิโรงพยาบาลภูกระดึง." 2550. <a href="http://hdl.handle.net/11228/383">http://hdl.handle.net/11228/383</a>. | |
.custom.total_download | 625 | |
.custom.downloaded_today | 1 | |
.custom.downloaded_this_month | 6 | |
.custom.downloaded_this_year | 95 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 106 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
Fulltext
This item appears in the following Collection(s)
-
Articles [1344]
บทความวิชาการ