แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การฝังเข็มรักษาอาการเท้าชาของผู้ป่วยโรคเบาหวาน

dc.contributor.authorสุนทร เสรีเชษฐพงศ์en_US
dc.contributor.authorSuntorn Sereechettapongen_US
dc.coverage.spatialนครปฐมen_US
dc.date.accessioned2008-10-03T08:01:25Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T15:55:37Z
dc.date.available2008-10-03T08:01:25Zen_US
dc.date.available2557-04-16T15:55:37Z
dc.date.issued2550en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 1,3-4 (ต.ค.-ธ.ค. 2550), 2(ต.ค.-ธ.ค. 2550) : 279-283en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/386en_US
dc.description.abstractการศึกษาผลของการฝังเข็มรักษาอาการเท้าชาของผู้ป่วยโรคเบาหวานในคลินิกโรคเบาหวาน โรงพยาบาลหลวงพ่อเปิ่น 40 คน (กลุ่มทดลอง 20 คน และกลุ่มควบคุม 20 คน) ทำในช่วงวันที่ 1 กันยายน 2549 ถึงวันที่ 31 มกราคม 2550 โดยผู้ป่วยทั้ง 2 กลุ่มได้รับการดูแลรักษาตามวิธีปรกติ แต่ผู้ป่วยกลุ่มทดลองได้รับการฝังเข็มบริเวณขาทั้งสองข้างสัปดาห์ละ 2 ครั้ง รวม 8 ครั้ง ผู้ป่วยทั้ง 2 กลุ่ม ได้รับการทดสอบระดับความชาของเท้าทั้งสองข้างด้วย Semmes-Weinstien monofilament 1 สัปดาห์ก่อนและ 1 สัปดาห์หลังการฝังเข็มรักษา เปรียบเทียบความแตกต่างของอาการเท้าชาก่อนและหลังการฝังเข็มทางสถิติด้วยการทดสอบที และเปรียบเทียบความแตกต่างของอาการเท้าชาในผู้ป่วยกลุ่มทดลองที่ได้รับการฝังเข็มกับกลุ่มควบคุมทางสถิติด้วยการทดสอบที การศึกษาพบว่าอาการเท้าชาในกลุ่มทดลองที่ได้รับการรักษาฝังเข็มดีขึ้นแตกต่างกับก่อนการฝังเข็มอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และอาการเท้าชาในกลุ่มทดลองดีขึ้นแตกต่างจากกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเช่นกัน สรุปว่าการฝังเข็มรักษาอาการเท้าชาของผู้ป่วยโรคเบาหวานให้ผลดีอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับค่าพี < 0.05th_TH
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleการฝังเข็มรักษาอาการเท้าชาของผู้ป่วยโรคเบาหวานen_US
dc.title.alternativeEffect of Acupuncture Treatment of Diabetic Peripheral Neuropathyen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeThe objective of this experimental study was to evaluate the therapeutic effect of acupuncture on diabetic peripheral neuropathy (DPN) in 40 diabetic patients attending the Diabetes Clinic of Laungpoh Pern Hospital; the methodology used simple random sampling technique. Twenty patients served as the group studied, receiving acupuncture and the remaining 20 cases acted as a control group. Both groups received the same conventional treatment from the hospital. In both groups, the degree of foot numbness was measured and recorded, using Semmes -Weinstein monofilament one week before and one week after the study period of four weeks (equal to the twice-a-week application of eight acupunctures). Statistical comparison of the therapeutic results in individual groups, and between the acupuncture-treated and the control groups were made by using the t-test. The results showed a statistically significant improvement of the numbness symptoms in the experimental group compared with the control group (p < 0.05). Therefore, it was concluded that acupuncture has a supplementary therapeutic effect on DPN in addition to the conventional treatment.en_EN
dc.subject.keywordการฝังเข็มen_US
dc.subject.keywordเท้าชาเหตุเบาหวานen_US
dc.subject.keywordAcupunctureen_US
dc.subject.keywordDiabetic Peripheral Neuropathyen_US
.custom.citationสุนทร เสรีเชษฐพงศ์ and Suntorn Sereechettapong. "การฝังเข็มรักษาอาการเท้าชาของผู้ป่วยโรคเบาหวาน." 2550. <a href="http://hdl.handle.net/11228/386">http://hdl.handle.net/11228/386</a>.
.custom.total_download2655
.custom.downloaded_today1
.custom.downloaded_this_month69
.custom.downloaded_this_year811
.custom.downloaded_fiscal_year151

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri-journal-v1n3 ...
ขนาด: 224.2Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย