แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

รูปแบบบริการผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงแบบองค์รวมของหน่วยบริการปฐมภูมิ จังหวัดพิจิตร

dc.contributor.authorดิเรก ขำแป้นen_US
dc.contributor.authorDirek Khampaenen_US
dc.coverage.spatialพิจิตรen_US
dc.date.accessioned2008-10-03T08:03:31Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T15:55:41Z
dc.date.available2008-10-03T08:03:31Zen_US
dc.date.available2557-04-16T15:55:41Z
dc.date.issued2550en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 1,3-4 (ต.ค.-ธ.ค. 2550), 2(ต.ค.-ธ.ค. 2550) : 301-310en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/389en_US
dc.description.abstractการศึกษารูปแบบการให้บริการผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงแบบองค์รวมที่หน่วยบริการปฐมภูมิ อำเภอบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร โดยวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้การสัมภาษณ์ระดับลึก การสังเกตแบบมีส่วนร่วม และการสนทนากลุ่ม เพื่อศึกษาการรับรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงและพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของผู้ป่วย การจัดบริการดูแลรักษาผู้ป่วยความดันโลหิตสูงในหน่วยบริการปฐมภูมิ และสังเคราะห์รูปแบบการจัดบริการที่เหมาะกับผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ใช้พื้นที่ศึกษาแบบเจาะจง ได้แก่ สถานีอนามัยลำประดา สถานีอนามัยห้วยคต และศูนย์สุขภาพชุมชนวังสำโรง ผู้ให้ข้อมูลสำคัญคือผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง 60 คน ที่ไม่สามารถควบคุมระดับแรงดันเลือดได้ และยินยอมให้ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีวิเคราะห์เนื้อหา การศึกษาพบว่ากระบวนการหลักในการจัดบริการคลินิกความดันโลหิตสูงทั้ง 3 แห่ง มีความแตกต่างกันไม่มากนัก ขึ้นอยู่กับอัตรากำลังในแต่ละครั้งเป็นสำคัญ จุดเด่นของสถานีอนามัย/ศูนย์สุขภาพชุมชน คือ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ชุมชน และผู้ป่วยมีส่วนร่วมในการจัดบริการ ศูนย์สุขภาพชุมชนวังสำโรงสามารถจัดบริการได้ตามกระบวนการหลักเพราะเป็นศูนย์สุขภาพชุมชนที่มีความพร้อมทั้งด้านอัตรากำลัง วิชาการ อุปกรณ์ และเวชภัณฑ์ยา ผู้ป่วยร้อยละ 96.67 ในคลินิกความดันโลหิตสูงมีความพึงพอใจต่อบริการของพื้นที่วิจัยทั้ง 3 แห่ง เพราะมีความคุ้นเคยกับเจ้าหน้าที่ สถานีอนามัย การเดินทางสะดวก และประหยัดค่าใช้จ่ายมากกว่าการไปรับบริการที่โรงพยาบาล ด้านการรับรู้อาการ สาเหตุการเกิดโรค ภาระแทรกซ้อนและความรุนแรงของโรค ผู้ป่วยจะยึดประสบการณ์ตรงของตัวเองเป็นหลัก ซึ่งสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของแต่ละบุคคล ดังนั้นการจัดบริการดูแลผู้ป่วยความดันโลหิตสูงต้องคำนึงถึงความคิด ความเชื่อของผู้ป่วย วัฒนธรรม บริบทของชุมชน และสถานบริการสาธารณสุขแต่ละแห่งด้วยth_TH
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleรูปแบบบริการผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงแบบองค์รวมของหน่วยบริการปฐมภูมิ จังหวัดพิจิตรen_US
dc.title.alternativeHolistic Health Care Service for Hypertensive Patients in Primary Care Units in Bangmunnak District, Pichit Provinceen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeThis qualitative research, conducted on 60 uncontrolled hypertensive volunteers, using in-depth interviews, participant observation, group discussion and content analysis. The aim was to study suitable forms of the holistic health-care service for hypertensive patients available in the three primary care units at Bangmunak District, Pichit Province. The objectives were to 1) Study the perception of hypertension disease and behavioral self-care, 2) Study the situable health-care service for hypertensive patients in the primary care units, 3) synthesize the situable health-care service for hypertensive patients.en_EN
dc.subject.keywordรูปแบบบริการผู้ป่วยแบบองค์รมen_US
dc.subject.keywordโรคความดันโลหิตสูงen_US
dc.subject.keywordHolistic Health Careen_US
dc.subject.keywordHypertensive Patientsen_US
.custom.citationดิเรก ขำแป้น and Direk Khampaen. "รูปแบบบริการผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงแบบองค์รวมของหน่วยบริการปฐมภูมิ จังหวัดพิจิตร." 2550. <a href="http://hdl.handle.net/11228/389">http://hdl.handle.net/11228/389</a>.
.custom.total_download1499
.custom.downloaded_today1
.custom.downloaded_this_month41
.custom.downloaded_this_year749
.custom.downloaded_fiscal_year69

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri-journal-v1n3 ...
ขนาด: 195.7Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย