HSRI-FORUM ปีที่ 1 ฉบับที่ 6 : ลดความเหลื่อมล้ำ เพิ่มความเป็นธรรม 3 กองทุนสุขภาพ
dc.contributor.editor | พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข | th_TH |
dc.contributor.editor | Pongpisut Jongudomsuk | en_US |
dc.date.accessioned | 2013-12-18T08:57:56Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-16T16:20:17Z | |
dc.date.available | 2013-12-18T08:57:56Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-16T16:20:17Z | |
dc.date.issued | 2555-11 | en_US |
dc.identifier.citation | HSRI Forum ปีที่ 1 ฉบับที่ 6 พ.ย. 2555 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/3922 | en_US |
dc.description.abstract | นำเสนอเนื้อหาที่เป็นประเด็น สำคัญระดับชาติที่ต้องได้รับการปฏิรูปเพื่อสร้างความเป็นธรรมให้เกิดแก่ ประชาชน นั่นคือ การจัดการระบบบริหารทั้ง 3 กองทุนสุขภาพ ประกอบด้วย กองทุนหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ กองทุนสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ และกองทุนประกันสังคม ซึ่งเมื่อ ช่วงเดือนมีนาคมปีนี้ ทางรัฐบาลมีนโยบายให้หามาตรการเพื่อลดความเหลื่อมล้ำและสร้าง ความเป็นธรรมในระบบบริการสุขภาพให้มากขึ้น HSRI Forum ฉบับนี้ จึงได้นำเรื่อง 3 ระบบกองทุนสุขภาพ มาเสนอให้เห็นความเป็นมา และความแตกต่าง พร้อมนำเสนอให้เห็นความคืบหน้าของมาตรการในการลดความเหลื่อมล้ำ ของ 3 กองทุน โดยเฉพาะนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขคนใหม่ในด้าน ต่างๆ เช่น การปรับโครงสร้างการเงิน การคลัง ฯลฯ ทั้งยังมีมุมมองและความเห็นเรื่องการจัดการและบริหารกองทุนสุขภาพจากผู้ทำงานวิชาการ ตลอดจนประเด็นความท้าทายในอนาคตของระบบหลักประกันสุขภาพไทย ไม่ว่าจะเป็นเรื่อง การบริหารจัดการกองทุนเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ การปรับปรุงประสิทธิภาพและคุณภาพในการ บริการ การก้าวไปสู่สังคมผู้สูงวัยที่จะต้องเผชิญกับผู้ป่วยโรคเรื้อรังเพิ่มขึ้น การขาดแคลน บุคลากรด้านสุขภาพ ปัญหาด้านการเงินการคลังของประเทศ ฯลฯ ซึ่งจะเป็นความท้าทายของ ระบบสุขภาพในอนาคต ส่วนเนื้อหาอื่นๆ ภายในเล่ม ‘แกะกล่องงานวิจัย’ หยิบเนื้อหาในมุมของปัญหาอุปสรรค และทิศทางการปฏิรูประบบหลักประกันสุขภาพ 3 กองทุน และแนวทางในการแก้ไขปัญหา ต่างๆ มาขยายผล ส่วน ‘เส้นทางสู่สุขภาพที่เป็นธรรมและยั่งยืน’ นำประเด็นร้อนๆ ของ ปัญหาวิกฤตพยาบาลลูกจ้างชั่วคราวทั่วประเทศที่รวมตัวกันเรียกร้องให้กระทรวงสาธารณสุข บรรจุเข้าเป็นข้าราชการประมาณ 17,000 ตำแหน่ง หลังจากรอคอยมานานกว่า 7 ปี ขณะที่ทาง สธ. เองก็กำลังหาทางในการไขปัญหา ขณะที่ ‘ต้นกล้าความรู้สู่ต้นแบบสุขภาพ’ นำเสนอประเด็นการบริหารบุคลากรของ โรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน) ซึ่งถือว่าเป็นโรงพยาบาลที่บริหารงานในรูปแบบ องค์การมหาชนแห่งแรกและแห่งเดียวของประเทศไทย เนื่องในโอกาสที่ดำเนินงานมาครบ 10 ปี โดยพนักงานทุกคนของโรงพยาบาลบ้านแพ้วต่างมีฐานะเป็น ‘พนักงานโรงพยาบาล’ ไม่ใช่ข้าราชการ แต่ทุกคนก็ทำงานอย่างมีความสุข พอใจกับสวัสดิการที่ตัวเองได้รับ ถือเป็น กรณีศึกษาสำหรับโรงพยาบาลรัฐแห่งอื่นๆ ที่ต้องการปฏิรูปตัวเอง | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.format.extent | 3315745 bytes | en_US |
dc.format.mimetype | application/zip | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | ระบบประกันสังคม | th_TH |
dc.subject | ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า | th_TH |
dc.subject | ระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ | th_TH |
dc.title | HSRI-FORUM ปีที่ 1 ฉบับที่ 6 : ลดความเหลื่อมล้ำ เพิ่มความเป็นธรรม 3 กองทุนสุขภาพ | th_TH |
dc.title.alternative | ลดความเหลื่อมล้ำ เพิ่มความเป็นธรรม 3 กองทุนสุขภาพ รับความท้าทายในอนาคต | th_TH |
dc.title.alternative | จากปัญหา สู่ทิศทางการปฏิรูประบบหลักประกันสุขภาพ 3 กองทุน | th_TH |
dc.title.alternative | ทางแยก วิกฤตกำลังพยาบาล กับแสงสว่างปลายทาง | th_TH |
dc.title.alternative | รพ.บ้านแพ้ว ดึงดูดกำลังคน ไม่พึ่งตำแหน่ง ขรก. | th_TH |
dc.type | Article | en_US |
dc.subject.keyword | ความเหลื่อมล้ำ | th_TH |
dc.subject.keyword | ความเป็นธรรม | th_TH |
.custom.citation | "HSRI-FORUM ปีที่ 1 ฉบับที่ 6 : ลดความเหลื่อมล้ำ เพิ่มความเป็นธรรม 3 กองทุนสุขภาพ." 2555. <a href="http://hdl.handle.net/11228/3922">http://hdl.handle.net/11228/3922</a>. | |
.custom.total_download | 5189 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 12 | |
.custom.downloaded_this_year | 432 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 32 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
ฉบับเต็ม
ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ