Show simple item record

Development of Contracting Primary Care Unit for Baan Hong District, Lamphun Province

dc.contributor.authorคะนอง ถนอมสัตย์en_US
dc.contributor.authorKanong Thanomsapen_US
dc.coverage.spatialลำพูนen_US
dc.date.accessioned2008-10-03T08:07:12Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T15:55:49Z
dc.date.available2008-10-03T08:07:12Zen_US
dc.date.available2557-04-16T15:55:49Z
dc.date.issued2550en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 1,3-4 (ต.ค.-ธ.ค. 2550), 2(ต.ค.-ธ.ค. 2550) : 361-368en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/397en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการให้บริการสุขภาพปฐมภูมิในพื้นที่ตำบลศรีเตี้ยและเหล่ายาวซึ่งเป็นพื้นที่ติดต่อกัน และเป็นพื้นที่รอยต่อกับจังหวัดเชียงใหม่ที่ได้ดำเนินการในปีงบประมาณ 2546-2549 แบ่งงานเป็น 4 ระยะ คือ ระยะแรก ทำการศึกษาข้อมูล เตรียมการดำเนินการและประเมินผลลัพธ์ เนื่องจากในระยะแรกของการวิจัยประชากรบางส่วนในเขตสถานีอนามัยสันปูเลย ขอใช้บริการด้านสุขภาพนอกเขตรอยต่อทำให้เกิดปัญหาการบริหารงบประมาณตามจ่าย ทีมสุขภาพอำเภอบ้านโฮ่งจึงประชุมเพื่อศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูลสถิติการมารับบริการ จำนวนผู้ป่วยเรื้อรัง การเข้าถึงบริการ และความสามารถในการค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ตลอดจนประเมินศักยภาพตนเอง และเตรียมการพัฒนารูปแบบการบริการในระยะที่ 2 คือ จัดให้มีพยาบาลเวชปฏิบัติครอบครัวปฏิบัติงานในสถานีอนามัยแบบเต็มเวลาผสมผสานกับการบริการสุขภาพเชิงรุกในช่วงต้นและพัฒนาให้สถานีอนามัยบ้านเหล่ายาวเป็นศูนย์แพทย์ชุมชนมีแพทย์รับผิดชอบตรวจรักษา ในช่วงต่อมา (ระยะที่ 3) และระยะที่ 4 คือการประเมินผลลัพธ์ของการดำเนินการ ผลการวิจัยพบว่าประชากรในพื้นที่ 2 ตำบลเข้าถึงบริการด้านสุขภาพมากขึ้น โดยสถานีอนามัยบ้านเหล่ายาวเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.94 ใน พ.ศ. 2547 เนื่องจากมีพยาบาลเวชปฏิบัติครอบครัวไปปฏิบัติงานในพื้นที่ และร้อยละ 24.60 เมื่อพัฒนาให้เป็นศูนย์แพทย์ชุมชนตำบลเหล่ายาวใน พ.ศ. 2549 สามารถลดปัญหางบประมาณตามจ่ายตาม DRGs ของประชากรเขตสถานีอนามัยสันปูเลย เพิ่มการเข้าถึงบริการร้อยละ 20.69 ใน พ.ศ. 2547 และร้อยละ 36.13 ใน พ.ศ. 2549 คัดกรองผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงมากขึ้น 3.32 เท่า ผู้ป่วยโรคเบาหวานเพิ่มขึ้น 5.64 เท่าจาก พ.ศ. 2546 การเข้าถึงบริการของโรคที่สามารถป้องกันได้ลดลง คือ โรคทางหายใจ และค้นหาโรคที่สอดคล้องกับปัญหาในชุมชนได้มากขึ้น คือ อาการปวดเมื่อยในระบบกล้ามเนื้อและโครงร่าง การจัดตั้งศูนย์แพทย์ชุมชน จึงเป็นการเชื่อมโยงระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิในพื้นที่ เน้นศักยภาพบุคลากรเชิงรุกระหว่างชุมชน และอาสาสมัครสาธารณสุข ตามนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ที่เน้น "ซ่อม" ควบคู่กับ "สร้าง" สุขภาพภายใต้การบริหารงบประมาณรายหัวของอำเภอบ้านโฮ่งth_TH
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleการพัฒนารูปแบบบริการสุขภาพปฐมภูมิพื้นที่อำเภอบ้านโฮ่ง จังหวัดลำพูนen_US
dc.title.alternativeDevelopment of Contracting Primary Care Unit for Baan Hong District, Lamphun Provinceen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeThe aim of this development research study was to develop the patterns of the primary care service in Sritia and Laoyaw tambons of Baan Hong District in Lamphun Province, where they conjoin with Chiang Mai Province. The study was undertaken in the period 2003 - 2006. The study was conducted in a number of phases: first, correcting the data, then planning, followed by processing, and finally evaluating the outcome. In the first period of this study, the population of the Sunpulauy Primary Care Unit (PCU) required extraordinary health-care service out that posed a budgetary problem under the Universal Coverage system in the Banhong PCU. Subsequently a meeting was held to study and correct the statistical data, the health-care services received, the number of patients with chronic illness, the ways to establish health-care services, the ability to recruit new patients, evaluate the competency of the health-care team, and prepare to develop the pattern of health-care services. In second phase, arrangements were made for family nurses to work in the PCU full time and be associated with the community based health-care services. In the third phase the Laoyaw PCU was developed to become the center for community medical-care services with the provision of a doctor for providing medical care and evaluating the outcome of processing. In the fourth phase, the people in Sritia and Laoyaw tambons enjoyed a greater range of health-care services. Patients in the Laoyaw PCU increased from 11.94 percent of the population in 2004 to 24.60 percent in 2006, because family nurses were working in this PCU and developed it into a community medical-care center. The Laoyaw PCU decreased the UC budget following the DRGs of the Sunpulauy PCU. The population receiving health-care services increased from 20.69 percent in 2004 to 36.13 percent in 2006. The screening of patients with hypertension increased 3.32 more than three fold, and that of patients with diabetes mellitus increased more than 5.6 times from 2003. The number of patients with respiratory diseases decreased; increased screening was carried out for diseases associated with community problems, that is, myalgia of the muscle and skeleton systems. The community medical hub was connected to the primary health-care service system in this area. The study found that it is possible to develop persons in the community and public health volunteers following the system policy that stresses improving health using the Banhong UC budget.en_EN
dc.subject.keywordบริการสุขภาพปฐมภูมิen_US
dc.subject.keywordพยาบาลเวชปฏิบัติครอบครัวen_US
dc.subject.keywordศูนย์แพทย์ชุมชนen_US
.custom.citationคะนอง ถนอมสัตย์ and Kanong Thanomsap. "การพัฒนารูปแบบบริการสุขภาพปฐมภูมิพื้นที่อำเภอบ้านโฮ่ง จังหวัดลำพูน." 2550. <a href="http://hdl.handle.net/11228/397">http://hdl.handle.net/11228/397</a>.
.custom.total_download592
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month7
.custom.downloaded_this_year82
.custom.downloaded_fiscal_year16

Fulltext
Icon
Name: hsri-journal-v1n3 ...
Size: 171.5Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

Show simple item record