Show simple item record

Development of Thailand’s population-based screening package

dc.contributor.authorพัฒน์ศรี ศรีสุวรรณen_US
dc.contributor.authorPatsri Srisuwanen_US
dc.contributor.authorธนัญญา คู่พิทักษ์ขจรen_US
dc.contributor.authorTanunya Koopitakkajornen_US
dc.contributor.authorปฤษฐพร กิ่งแก้วen_US
dc.contributor.authorPritaporn Kingkaewen_US
dc.contributor.authorศิตาพร ยังคงen_US
dc.contributor.authorSitaporn Youngkongen_US
dc.contributor.authorลี่ลี อิงศรีสว่างen_US
dc.contributor.authorLily Ingsrisawangen_US
dc.contributor.authorเดช เกตุฉ่ำen_US
dc.contributor.authorDet Kedchamen_US
dc.contributor.authorศรีเพ็ญ ตันติเวสสen_US
dc.contributor.authorSripen Tantivessen_US
dc.contributor.authorยศ ตีระวัฒนานนท์en_US
dc.contributor.authorYot Teerawattananonen_US
dc.date.accessioned2014-03-13T06:12:35Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T16:21:05Z
dc.date.available2014-03-13T06:12:35Zen_US
dc.date.available2557-04-16T16:21:05Z
dc.date.issued2556-12en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 7,4 (ต.ค.-ธ.ค.2556) : 505-515en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/3985en_US
dc.description.abstractการตรวจคัดกรองสุขภาพเป็นการซักถามหรือตรวจเบื้องต้น เพื่อค้นหาความเสี่ยงหรือโรคในประชากรสุขภาพดี เพื่อป้องกัน ลดความเสี่ยงหรือภาวะแทรกซ้อนจากโรค อย่างไรก็ตาม การกำหนดชุดสิทธิประโยชน์ด้านการตรวจคัดกรองสุขภาพหลายรายการในระบบหลักประกันสุขภาพของประเทศไทยยังขาดข้อมูลสนับสนุนด้านประสิทธิผลและประสิทธิภาพ การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อจัดลำดับความสำคัญ ประเมิน และเสนอมาตรการตรวจคัดกรองสุขภาพที่มีประสิทธิผล คุ้มค่า และเหมาะสมในบริบทของประเทศไทยเพื่อนำเข้าสู่ชุดสิทธิประโยชน์ โดยเริ่มจากการจัดลำดับความสำคัญของปัญหาสุขภาพที่ควรมีการตรวจคัดกรอง ทำการทบทวนนโยบายและมาตรการที่เกี่ยวข้องเพื่อนำเสนอในการประชุมผู้เชี่ยวชาญเพื่อกำหนดกรอบในการประเมินประสิทธิผล ความคุ้มค่า และความเหมาะสม จากนั้นประมวลผลเพื่อนำเสนอต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ก่อนนำเสนอต่อผู้กำหนดนโยบายต่อไป มาตรการตรวจคัดกรองสุขภาพในระดับประชากรที่แนะนำให้อยู่ในชุดสิทธิประโยชน์ ประกอบด้วย การตรวจ HBsAg และ anti-HBs เพื่อคัดกรองไวรัสตับอักเสบบี ซึ่งเป็นปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคตับแข็งและมะเร็งตับ การตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือดหรือปริมาตรเม็ดเลือดแดงอัดแน่นเพื่อคัดกรองโรคโลหิตจางในเด็ก การเจาะระดับน้ำตาลในเลือดหลังงดอาหารเพื่อคัดกรองโรคเบาหวาน การประเมินความเสี่ยงโรคหลอดเลือดหัวใจโดยรวม การคลำชีพจรเพื่อคัดกรองภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะชนิด atrial fibrillation ซึ่งเป็นปัจจัยเสี่ยงของโรคหลอดเลือดสมอง การวัดค่าดัชนีมวลกายเพื่อคัดกรองภาวะทุพโภชนาการ การตรวจ Pap smear หรือ VIA เพื่อคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก การใช้แบบสอบถาม ASSIST เพื่อคัดกรองปัญหาการดื่มสุรา และการให้คำปรึกษาและการตรวจคัดกรองการติดเชื้อเอชไอวีที่สถานพยาบาล (ตามความสมัครใจ) และการวัดสายตาในผู้สูงอายุที่ขอทำและต่ออายุใบอนุญาตขับขี่เพื่อคัดกรองปัญหาอุบัติเหตุจราจร รวมถึงมาตรการที่แนะนำให้ประชากรตรวจคัดกรองด้วยตนเอง ได้แก่ การชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเพื่อคัดกรองภาวะทุพโภชนาการ และการคำนวณความยาวรอบเอวต่อส่วนสูงเพื่อคัดกรองโรคอ้วนen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent292454 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleการตรวจคัดกรองสุขภาพที่เหมาะสมสำหรับสังคมไทยen_US
dc.title.alternativeDevelopment of Thailand’s population-based screening packageen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativePopulation-based screening is one of the public health services that attempt to identify people at risk of, or are already affected by, a disease. A number of health screening tests have been publicly funded in Thailand without rigorous assessment of scientific evidence. This study aims to develop an appropriate population-based screening package in Thailand through a transparent, systematic, and participatory process. Health problems were prioritized through a consultation meeting among stakeholders and reviewed for their screening tools. The results were appraised and deliberated for consensus. The final recommendations for appropriate population-based screening package include screening hepatitis B surface antigen (HBsAg) and hepatitis B surface antibody (anti-HBs) for hepatitis B virus infection; complete blood count (CBC) or hematocrit level (Hct) for anemia in infants; fasting plasma glucose for diabetes; global risk scores for coronary heart diseases; pulse palpitation for atrial fibrillation; body mass index for malnutrition; Pap smear or VIA for cervical cancer; ASSIST for alcohol dependence; provider-initiated voluntary counseling and testing for HIV infection; and visual acuity for traffic accident. Two screening tests were recommended for self-examination: measurement of weight and height for malnutrition; and calculation of waist-to-height ratio for obesity.en_US
dc.subject.keywordการตรวจคัดกรองโรคen_US
dc.subject.keywordการคัดกรองระดับประชากรen_US
dc.subject.keywordMedical Checkupen_US
dc.subject.keywordMass Screeningen_US
.custom.citationพัฒน์ศรี ศรีสุวรรณ, Patsri Srisuwan, ธนัญญา คู่พิทักษ์ขจร, Tanunya Koopitakkajorn, ปฤษฐพร กิ่งแก้ว, Pritaporn Kingkaew, ศิตาพร ยังคง, Sitaporn Youngkong, ลี่ลี อิงศรีสว่าง, Lily Ingsrisawang, เดช เกตุฉ่ำ, Det Kedcham, ศรีเพ็ญ ตันติเวสส, Sripen Tantivess, ยศ ตีระวัฒนานนท์ and Yot Teerawattananon. "การตรวจคัดกรองสุขภาพที่เหมาะสมสำหรับสังคมไทย." 2556. <a href="http://hdl.handle.net/11228/3985">http://hdl.handle.net/11228/3985</a>.
.custom.total_download1924
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month10
.custom.downloaded_this_year173
.custom.downloaded_fiscal_year33

Fulltext
Icon
Name: hsri_journal_v7n4 ...
Size: 285.5Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

Show simple item record