dc.contributor.author | นิพนธ์ ฐิติญาณวิโรจน์ | th_TH |
dc.contributor.author | Nipon Thitiyanwiroj | en_US |
dc.contributor.author | สุรศักดิ์ ไชยสงค์ | th_TH |
dc.contributor.author | Surasak Chaiyasong | en_US |
dc.contributor.author | ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช | th_TH |
dc.contributor.author | Thananan Rattanachotphanit | en_US |
dc.contributor.author | วัชรา บุญสวัสดิ์ | th_TH |
dc.contributor.author | Watchara Boonsawat | en_US |
dc.date.accessioned | 2015-05-18T04:14:06Z | |
dc.date.available | 2015-05-18T04:14:06Z | |
dc.date.issued | 2558-03 | |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 9,1 (ม.ค.-มี.ค. 2558) : 61-73 | th_TH |
dc.identifier.issn | 0858-9437 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/4261 | |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลลัพธ์ของการใช้ยา salmeterol/fluticasone (SFC) และ budesonide ในการควบคุมโรคหืดในสถานการณ์จริงในโรงพยาบาลชุมชน ทำการศึกษาแบบ retrospective cohort study โดยเก็บข้อมูลจากฐานข้อมูล Easy Asthma Clinic ปี 2550-2554 จากโรงพยาบาลชุมชน 7 แห่ง ในผู้ป่วยโรคหืดที่ควบคุมอาการไม่ได้ด้วย budesonide ขนาดปานกลาง และได้รับยา 3 รูปแบบ 1) budesonide ขนาดปานกลาง (n=170), 2) budesonide ขนาดสูง (n=88) และ 3) SFC 50/250 ไมโครกรัม วันละ 2 ครั้ง (n=128) ติดตามผลลัพธ์หลังใช้ยา 1 ปี เปรียบเทียบผลลัพธ์ในการรักษาด้วยการวิเคราะห์แบบหลายตัวแปร ผลการศึกษาพบว่ากลุ่ม budesonide ขนาดปานกลาง, budesonide ขนาดสูง และ SFC มีสัดส่วนการควบคุมโรคหืดได้ดี ร้อยละ 7.6, 20.0 และ 28.9 ตามลำดับ (p<0.001) มีสัดส่วนการเข้ารับการรักษาที่ห้องฉุกเฉิน ร้อยละ 45.3, 30.7 และ 28.1 ตามลำดับ (p=0.009) มีสัดส่วนการเข้านอนโรงพยาบาล ร้อยละ 20.6, 17.5 และ 19.5 ตามลำดับ (p=0.902) และเกิดอาการข้างเคียงจากยา ร้อยละ 5.9, 10.2 และ 0 ตามลำดับ (p=0.002) เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่ม budesonide ขนาดปานกลาง กลุ่ม SFC มีการควบคุมโรคหืดได้ดีมากกว่า 9.16 เท่า (OR=9.16, 95%CI: 3.88, 21.64) มีการเข้ารับการรักษาที่ห้องฉุกเฉินน้อยกว่าร้อยละ 47 (HR=0.53, 95%CI: 0.35, 0.79) ส่วนกลุ่ม budesonide ขนาดสูงมีผลลัพธ์ไม่แตกต่าง โดยสรุป การใช้ salmeterol/fluticasone มีผลลัพธ์ในการรักษาดีกว่าและเกิดอาการข้างเคียงน้อยกว่า budesonide | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | โรคหืด | th_TH |
dc.subject | Asthma | en_US |
dc.title | ผลลัพธ์ของการดูแลผู้ป่วยโรคหืดที่ควบคุมอาการไม่ได้ด้วยยา Salmeterol/Fluticasone และ Budesonide ในโรงพยาบาลชุมชน | th_TH |
dc.title.alternative | Outcomes of Caring Uncontrolled Asthmatic Patients with Salmeterol/Fluticasone and Budesonide in Community Hospitals | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dc.description.abstractalternative | The objective of this study was to determine outcomes of salmeterol/fluticasone (SFC) and budesonide
(BUD) for asthma control in real-life situation in community hospitals. A retrospective cohort study was
conducted to collect data from Easy Asthma Clinic database year 2007-2011 in seven community hospitals.
Uncontrolled asthmatic patients with medium-dose BUD who were prescribed SFC or BUD were
divided into three groups: 1) medium-dose BUD (n=170), 2) high-dose BUD (n=88) and 3) SFC 50/250 μg twice daily (n=128). The patients were followed for a year to measure the study outcomes. Comparative
treatment outcomes were analyzed using multivariable analyses to control potential confounders. The
results revealed that the proportions of well controlled patients were 7.6%, 20.0% and 28.9% in mediumdose
BUD, high-dose BUD and SFC group, respectively (p<0.001). The proportions of patients with emergency
room visit were 45.3%, 30.7% and 28.1% in medium-dose BUD, high-dose BUD and SFC group,
respectively (p=0.009) whereas the proportions of patients with hospitalization were 20.6%, 17.5% and
19.5% in medium-dose BUD, high-dose BUD and SFC group, respectively (p=0.902). Side effects of the
medications were 5.9%, 10.2% and 0% in medium-dose BUD, high-dose BUD and SFC group, respectively
(p=0.002). Comparing with medium-dose BUD group, SFC group achieved well controlled more than
9.16 times (OR=9.16, 95%CI: 3.88, 21.64) and decreased emergency room visits by 47% (HR=0.53, 95%CI:
0.35, 0.79). Differential outcome between high-dose BUD and medium-dose BUD was not found. In conclusion,
salmeterol/fluticasone provides better outcomes and fewer adverse effects than budesonide. | en_US |
.custom.citation | นิพนธ์ ฐิติญาณวิโรจน์, Nipon Thitiyanwiroj, สุรศักดิ์ ไชยสงค์, Surasak Chaiyasong, ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช, Thananan Rattanachotphanit, วัชรา บุญสวัสดิ์ and Watchara Boonsawat. "ผลลัพธ์ของการดูแลผู้ป่วยโรคหืดที่ควบคุมอาการไม่ได้ด้วยยา Salmeterol/Fluticasone และ Budesonide ในโรงพยาบาลชุมชน." 2558. <a href="http://hdl.handle.net/11228/4261">http://hdl.handle.net/11228/4261</a>. | |
.custom.total_download | 1146 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 12 | |
.custom.downloaded_this_year | 94 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 18 | |