การคาดการณ์กำลังคนสำหรับการวางแผนอัตรากำลังเภสัชกรในประเทศไทย
dc.contributor.author | พิศาลสิทธ์ ธนวุฒิ | th_TH |
dc.contributor.author | Pisansit Thanawut | en_US |
dc.contributor.author | นิลวรรณ อยู่ภักดี | th_TH |
dc.contributor.author | Nilawan Upakdee | en_US |
dc.date.accessioned | 2015-10-28T04:13:16Z | |
dc.date.available | 2015-10-28T04:13:16Z | |
dc.date.issued | 2558-09 | |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 9,3 (ก.ค.-ก.ย. 2558) : 294-304 | th_TH |
dc.identifier.issn | 0858-9437 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/4338 | |
dc.description.abstract | บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อกล่าวถึงวิธีการคาดการณ์กำลังคน และการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับอัตรากำลังเภสัชกรที่พบในประเทศไทยและต่างประเทศ วิธีการกำหนดอัตรากำลังคนเป็นส่วนสำคัญของการคาดการณ์กำลังคน ซึ่งมีหลายวิธี เช่น วิธีอัตราส่วนบุคลากรต่อประชากร (population ratio method) วิธีความจำเป็นด้านสุขภาพ (health need method) วิธีอุปสงค์ต่อบริการสุขภาพ (health demands method) วิธีเป้าหมายบริการ (service targets method) วิธีเป้าหมายบริการที่ปรับแล้ว (adjusted service target-based method) วิธีกลไกงบประมาณ (budget driven mechanisms) วิธีภาระงานต่อวันกับค่ามาตรฐาน วิธีภาระงาน (work point) และวิธีรูปแบบการประเมินความจำเป็น (needs assessment models) การเลือกใช้ขึ้นอยู่กับข้อมูลที่มีอยู่หรือที่สามารถรวบรวมได้และวัตถุประสงค์ของการนำผลไปใช้ประโยชน์ ทั้งนี้ เนื่องจากอนาคตเป็นสิ่งที่คาดการณ์ได้ยาก และสถานการณ์มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ดังนั้น เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ดีจึงควรทำการศึกษากำลังคนอย่างต่อเนื่อง ทั้งในระดับจุลภาคและมหภาค เพื่อให้เห็นปัญหาในระดับภาพรวมของทั้งประเทศและระดับท้องถิ่น | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | เภสัชกร | th_TH |
dc.subject | บุคลากรสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | กำลังคนด้านสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | Health Personnel | en_US |
dc.subject | Health Manpower | en_US |
dc.title | การคาดการณ์กำลังคนสำหรับการวางแผนอัตรากำลังเภสัชกรในประเทศไทย | th_TH |
dc.title.alternative | Projection of Pharmacist Workforce in Thailand | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dc.description.abstractalternative | This review aimed to describe the methods that have been used for workforce projections and to explore the relevant literatures of pharmacist workforce in Thailand and other countries. Determining a workforce is an important part of workforce projections. Several methods were used for workforce projection which included: population ratio method, health need method, health demands method, service targets method, adjusted service target-based method, budget driven mechanisms, workload measurement method, work point evaluation method, and needs assessment models. The selection of methods used depends on the availability/accessibility of data and the proposed application. Forecasting the future is a difficult task and related situations are always dynamic. Therefore, a continuity of workforce projection studies is essential to ensure the data accuracy in both micro and macro perspectives in order to illustrate the problem at national and local levels. | en_US |
.custom.citation | พิศาลสิทธ์ ธนวุฒิ, Pisansit Thanawut, นิลวรรณ อยู่ภักดี and Nilawan Upakdee. "การคาดการณ์กำลังคนสำหรับการวางแผนอัตรากำลังเภสัชกรในประเทศไทย." 2558. <a href="http://hdl.handle.net/11228/4338">http://hdl.handle.net/11228/4338</a>. | |
.custom.total_download | 2629 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 7 | |
.custom.downloaded_this_year | 250 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 22 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
ฉบับเต็ม
ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ